กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน


“ โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ และพัฒนาการเด็กอายุ 0- 72 เดือน ”

ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางเจ๊ะอ๊ะ สัญญา หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งวิมานชัยพัฒน์

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ และพัฒนาการเด็กอายุ 0- 72 เดือน

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5307-3-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ และพัฒนาการเด็กอายุ 0- 72 เดือน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ และพัฒนาการเด็กอายุ 0- 72 เดือน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ และพัฒนาการเด็กอายุ 0- 72 เดือน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5307-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 47,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. จำนวนเด็กเล็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ลดลงจากปี 2561 (คน)
  2. เด็กเล็กมีพฤติกรรมการทานอาหารเช้าแทนขนมหวาน ขนมกรุบกรอบ
  3. เพิ่มกิจกรรมทางกายที่เป็นประโยชน์ในเด็กน้ำหนักเกินเกณฑ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. คัดกรอง ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ลงกราฟพัฒนาการ
  2. อาหารเช้าของหนู เพื่อพัฒนาการที่สมบูรณ์
  3. ปลูกผักสวนครัว เพิ่มกิจกรรมทางกาย
  4. อบรมให้ความรู้ เรื่องการจัดอาหารที่เหมาะสมกับเด็กและสะท้อนภาวะโภชนาการของเด็กเล็กรายบุคคล
  5. ตรวจประเมิน นำ้หนัก ส่วนสูง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 36
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ปกครองของเด็กเล็ก ทั้งหมด 150

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ปกครองให้ความสำคัญในการทานมื้อเช้าของเด็กเล็ก
  2. เกิดความร่วมมือระหว่างผู้ปกครองและศูนย์เด็กเล็กฯในการจัดเสริมอาหารเช้าให้แก่เด็ก เพื่อโภชนาการที่สมวัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อาหารเช้าของหนู เพื่อพัฒนาการที่สมบูรณ์

วันที่ 31 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดอาหารเช้าเสริมให้แก่เด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ได้รับอาหารเช้าเสริมทุกราย

 

36 0

2. ปลูกผักสวนครัว เพิ่มกิจกรรมทางกาย

วันที่ 31 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรม ปลูกผัก เพื่อเสริมกิจกรรมทางกายให้แก่ เด็ก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กๆสามารถร่วมกิจกรรมได้เป็นอย่างดี

 

25 0

3. อบรมให้ความรู้ เรื่องการจัดอาหารที่เหมาะสมกับเด็กและสะท้อนภาวะโภชนาการของเด็กเล็กรายบุคคล

วันที่ 30 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง ในเด็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ และเด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองให้ความร่วมมือในการเข้ารับการอบรม

 

36 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 จำนวนเด็กเล็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ลดลงจากปี 2561 (คน)
ตัวชี้วัด : มีจำนวน(คน)เด็กเล็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ลดลงจากปี 2561
5.00

 

2 เด็กเล็กมีพฤติกรรมการทานอาหารเช้าแทนขนมหวาน ขนมกรุบกรอบ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็กเล็กมีพฤติกรรมทานอาหารเช้าทุกคน
100.00

 

3 เพิ่มกิจกรรมทางกายที่เป็นประโยชน์ในเด็กน้ำหนักเกินเกณฑ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็กเล็กที่มีภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์มีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 186
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 36
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้ปกครองของเด็กเล็ก ทั้งหมด 150

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) จำนวนเด็กเล็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ลดลงจากปี 2561 (คน) (2) เด็กเล็กมีพฤติกรรมการทานอาหารเช้าแทนขนมหวาน ขนมกรุบกรอบ (3) เพิ่มกิจกรรมทางกายที่เป็นประโยชน์ในเด็กน้ำหนักเกินเกณฑ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรอง ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ลงกราฟพัฒนาการ (2) อาหารเช้าของหนู เพื่อพัฒนาการที่สมบูรณ์ (3) ปลูกผักสวนครัว เพิ่มกิจกรรมทางกาย (4) อบรมให้ความรู้ เรื่องการจัดอาหารที่เหมาะสมกับเด็กและสะท้อนภาวะโภชนาการของเด็กเล็กรายบุคคล (5) ตรวจประเมิน นำ้หนัก ส่วนสูง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ และพัฒนาการเด็กอายุ 0- 72 เดือน

รหัสโครงการ 62-L5307-3-01 ระยะเวลาโครงการ 31 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องเมนูสุขภาพ ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องโภชนาการอาหารที่เหมาะสมในเด็กนำ้หนักน้อยกับนำ้หนักตำ่กว่าเกณฑ์ แม่ครัวมีความรู้ในเรื่องอาหารที่ถูกหลักโภชนาการมากขึ้น

ภาพกิจกรรม ตารางเมนูอาหารเช้า

พัฒนาเมนูสุขภาพที่เด็กชอบเช่นจากผักน้ำเห็ดต้มเปลี่ยนเป็นเมนูทอดแทน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

เมนูอาหารเช้าที่เด็กชอบจากผัดนึ่งเป็นทอด

ภาพกิจกรรม เมนูอาหารเช้า

ปรับเปลี่ยนเมนูอาหารที่เด็กชอบ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

ข้อตกลงระหว่างผู้ปกครองกับศูนย์ไม่นำขนมกรุบกรอบให้เด็กรับประทาน เปลี่ยนพฤติกรรมให้ผู้ปกครองและเด็กมาศูนย์เช้ากว่าปกติเพื่อมารับประทานอาหารเช้า

ข้อตกลงร่วมกัน

1.เกิดกิจกรรมผู้ปกครองร่วมบริจาควัสดุเหลือใช้ขายเป็นเงินสมทบทุนอาหารเช้าในศูนย์

2.ทำข้อตกลงร่วมกันเป็นลายลักษณ์อักษร

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

จัดทำแปลงผักเพื่อสุขภาพภายในศูนย์ เพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกายในเด็กอ้วน

ภาพกิจกรรม ผลผลิตที่ได้เช่นผักบุ้ง บวบ ฟักเขียว

ขยายแนวทางการปลูกผักในครัวเรือนที่สนใจ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

ผู้ปกครองชาวบ้านนำผักที่ปลูกได้มาบริจาคและจำหน่ายให้ศูนย์เด็กเพื่อทำเป็นอาหาร

เกิดเมนูแกงเขียวหวานแกงจืดจากฟักเขียว

ขยายแนวทางการปลูกผักในครัวเรือนที่สนใจ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

ทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษผักผลไม้

ถังน้ำหมักชีวภาพ

เกิดแหล่งเรียนรู้การใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอยในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

แม่ครัวเปลี่ยนการปรุงอาหารให้ครบหลักโภชนาการมากขึ้น

เมนูอาหารเพื่อสุขภาพเช่นบวบใส่ไข่

พัฒนาเมนูสุขภาพตามหลักthaischoollunch

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ลดพฤติกรรมการทานอาหารกรุบกรอบในเด็ก แม่ครัวสนใจทำอาหารที่มีประโยชน์ต่อเด็กมากขึ้น

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

เพิ่มกิจกรรมทางกายในกลุ่มเด็กอ้วนโดยการปลูกผักสวนครัว

ภาพกิจกรรม

พัฒนากิจกรรมที่เพิ่มกิจกรรมทางกายให้มีความหลากหลายขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

เกิดการละเล่นม้าก้านกล้วย การละเล่นรถกระป๋อง

ภาพกิจกรรม

พัฒนาการละเล่นที่ประดิษฐ์เองได้ในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

ศูนย์จัดอาหารเช้าให้แก่เด็ก และจัดมุมแปลงปลูกผักเพื่อสุขภาพภายในศูนย์

ภาพกิจกรรม จัดตารางอาหารเช้า แปลงปลูกผักภายในศูนย์

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

ข้อตกลงร่วมในศูนย์เด็กเล็กในการห้ามนำขนมกรุบกรอบเข้ามาในศูนย์

ข้อตกลงร่วมกัน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

พัฒนาให้เป็นศูนย์ตัวอย่างเพื่อขยายไปยังศูนย์อื่นๆในพื้นที่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

นำประสบการณ์ในการจัดโครงการได้แก่พัฒนาเมนูอาหารที่เด็กๆอบจากประเภทต้มเป็นทอดได้แก่ผักทอดประเภทต่างๆ

ภาพกิจกรรมรายละเอียดเมนูอาหาร

พัฒนาเมนูอาหารที่ได้จากผักพื้นบ้าน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

สามารถแก้ปัญหาเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ ให้อยู่ในภาวะปกติได้จำนวน16คน สามารถลดพฤติกรรมเด็กที่ชอบทานขนมกรุบกรอบได้จำนวน 15คน
สามารคเพิ่มกิจกรรมทางกายในเด็กที่มีภาวะอ้วนจำนวน5คนแต่ยังไม่สามารถลดน้ำหนักของเด็กได้

 

พัมนารูปแบบกิจกรรมให้สามารถดูแลเด็กที่มีภาวะโภชนาการในทุกระดับได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ และพัฒนาการเด็กอายุ 0- 72 เดือน จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5307-3-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเจ๊ะอ๊ะ สัญญา หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งวิมานชัยพัฒน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด