กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเร่งรัดแก้ไขปัญหาการป้องกันควบคุมโรคหัดตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ”
ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นายอายุ กาซา




ชื่อโครงการ โครงการเร่งรัดแก้ไขปัญหาการป้องกันควบคุมโรคหัดตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

ที่อยู่ ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3027-05-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 พฤศจิกายน 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเร่งรัดแก้ไขปัญหาการป้องกันควบคุมโรคหัดตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเร่งรัดแก้ไขปัญหาการป้องกันควบคุมโรคหัดตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเร่งรัดแก้ไขปัญหาการป้องกันควบคุมโรคหัดตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L3027-05-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 พฤศจิกายน 2561 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยอำเภอยะรัง มีการระบาดของโรคหัด จากข้อมูลสถานการณ์โรคจากระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ตั้งแต่วันที่ ๑ กันยายน – 6 พฤศจิกายน ๒๕๖๑ ศูนย์ระบาดวิทยาอำเภอยะรังได้รับรายงานผู้ป่วยโรคหัดจำนวนทั้งสิ้น 159 รายคิดเป็นอัตราป่วย 166.00 ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้เสียชีวิต 3 รายคิดเป็นอัตราป่วยร้อยละ 1.89 โดยพบว่าตำบลมีอัตราป่วยมากที่สุด คือ ตำบลคลองใหม่ คิดเป็นอัตราป่วย 329.9ต่อแสนประชากร (จำนวน 13 ราย) รองลงมาได้แก่ ตำบลกระโด 312.2 ต่อแสนประชากร (จำนวน 14 ราย) ตำบลยะรัง 230.1 ต่อแสนประชากร (จำนวน 21 ราย) ตำบลระแว้ง 230.0 ต่อแสนประชากร (จำนวน 10 ราย) ตำบลกอลำ 220.4 ต่อแสนประชากร (จำนวน 12 ราย) ตำบลเมาะมาวี 219.7 ต่อแสนประชากร (จำนวน 22 ราย) ตำบลประจัน 198.5 ต่อแสนประชากร (จำนวน 15 ราย เสียชีวิต 3 ราย) ตำบลเขาตูม 197.3 ต่อแสนประชากร (จำนวน 31 ราย) ตำบลสะดาวา 130.5 ต่อแสนประชากร (จำนวน 9 ราย) ตำบลสะนอ 115.3 ต่อแสนประชากร (จำนวน 6 ราย) ตำบลวัด 92.3 ต่อแสนประชากร (จำนวน 4 ราย)และตำบลปิตูมุดี 18.7 ต่อแสนประชากร (จำนวน 1 ราย) ตามลำดับ โดยกลุ่มวัยที่พบมากที่สุด คือ กลุ่มอายุ 0 - 4 ปี (๘๒.๖%) กลุ่มอายุ 5 – 9 ปี (๑๓.๐%) กลุ่มอายุ 25 – 34 ปี (๒.๒%) และกลุ่มอายุ 15 - 24 ปี (๒.๒%) ซึ่งสอดคล้องกับความครอบคลุมวัคซีนโรคหัดในพื้นที่ยะรังที่พบอยู่ในระดับต่ำ โดยพบความครอบคลุมวัคซีนโรคหัด เท่ากับร้อยละ ๖0.43 ซึ่งเป็นระดับความครอบคลุมวัคซีนโรคหัดที่ไม่สามารถป้องกันการกระจายโรคหัดในชุมชนได้ โดยภูมิคุ้มกันในชุมชนจะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่อมีความครอบคลุมวัคซีนโรคหัด มากกว่าร้อยละ ๙๕.๐ หากไม่สามารถเพิ่มความครอบคลุมของวัคซีนได้ ถ้าพบผู้ป่วย ๑ คน จะสามารถ ติดต่อสู่ผู้อื่น 18 คน นั้น   ดังนั้น เพื่อให้ปัญหาดังกล่าวได้รับการแก้ไขสอดคล้องกับปัญหา ตำบลเขาตูมจึงได้จัดทำโครงการเร่งรัดแก้ไขปัญหาการป้องกันควบคุมโรคหัด ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี เพื่อลดอัตราป่วยและอัตราตายจากการเสียชีวิตด้วยโรคหัด เด็กเล็กได้รับบริการสร้างเสริมสุขภาพที่เหมาะสม ส่งผลทำให้เป็นประชาชนมีความฉลาดทางสุขภาพนำไปสู่ความเด็กยะรังสุขภาพดี และมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. ให้ภาคีเครือข่ายและภาคประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพและความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องต่อไปนี้ 1.1 เพื่อให้ภาคีเครือข่ายและภาคประชาชน ให้ความสำคัญ มีความเชื่อและทัศนคติทางบวก และเห็นประโยชน์ของวัคซีนป้องกันโรคมากขึ้น 1.2 เพื่อให้ภาคีเครือข่ายและภาคประชาชน มีความรู้เรื่องการป้องกันโรคจากวัคซีน วิธีการดูแลภายหลังฉีดวัคซีน ความรุนแรงและผลกระทบจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
  2. 2. เพื่อให้ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัดเด็กอายุ ๐-๕ ปี และกลุ่มผู้สัมผัสผ่านเกณฑ์ในพื้นที่เป้าหมาย
  3. ๓. เพื่อให้จำนวนผู้ป่วยโรคหัดลดลงเมื่อเทียบกับค่ามัธยฐาน และลดการเสียชีวิตจากโรคหัด ตัวชี้วัด ๑. ด้านพฤติกรรมสุขภาพ และความรู้ KPI๑ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและภาคประชาชนมีการเห็นความสำคัญของประโยชน์วัคซีนป้องกันโรคมากขึ้น ร้อยละ ๙๐.๐ KPI๒ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและภาคประชาชนมีความรู้เรื่องการป้องกันโรคจากวัคซีน วิธีการดูแลภายหลังฉีดวัคซีน ความรุนแรงและผลกระทบจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ร้อยละ ๑๐๐.๐ ๒. ด้านลดป่วย ลดโรค KPI ๓ เด็กอายุ ๐-๕ ปี ได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัดไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๕ KPI ๔ จำนวนผู้ป่วยโรคหัดลดลงเมื่อเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง ๕ ปี และอัตราป่วยตาย เท่ากับ ๐

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 250
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็ก 0 – ๕ ปี ได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัดได้ครบตามเกณฑ์วัคซีน
      1. พ่อแม่ ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจและให้ความร่วมมือในการให้บุตรหลานรับวัคซีนเพิ่มขึ้น
      2. เครือข่ายในชุมชน ได้แก่ ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตาดีกา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาเด็กปฐมวัยได้รับวัคซีน ๔. ผู้ปกครองเด็กอายุ ๐-๕ ปี ให้ความสำคัญ มีความเชื่อและทัศนคติทางบวก และเห็นประโยชน์ของวัคซีนป้องกันโรคมากขึ้น
        ๕. ผู้ปกครองเด็กอายุ ๐-๕ ปี มีความรู้เรื่องการป้องกันโรคจากวัคซีน วิธีการดูแลภายหลังฉีดวัคซีน ความรุนแรงและผลกระทบจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ๖. จำนวนผู้ป่วยโรคติดต่อที่ป้องกันด้วยวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี ลดลงเมื่อเทียบกับค่ามัธยฐาน ๗. เครือข่ายทุกภาคส่วนในชุมชน มีความเข้าใจที่ถูกต้องและมีส่วนร่วมในงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. ให้ภาคีเครือข่ายและภาคประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพและความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องต่อไปนี้ 1.1 เพื่อให้ภาคีเครือข่ายและภาคประชาชน ให้ความสำคัญ มีความเชื่อและทัศนคติทางบวก และเห็นประโยชน์ของวัคซีนป้องกันโรคมากขึ้น 1.2 เพื่อให้ภาคีเครือข่ายและภาคประชาชน มีความรู้เรื่องการป้องกันโรคจากวัคซีน วิธีการดูแลภายหลังฉีดวัคซีน ความรุนแรงและผลกระทบจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 2. เพื่อให้ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัดเด็กอายุ ๐-๕ ปี และกลุ่มผู้สัมผัสผ่านเกณฑ์ในพื้นที่เป้าหมาย
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 ๓. เพื่อให้จำนวนผู้ป่วยโรคหัดลดลงเมื่อเทียบกับค่ามัธยฐาน และลดการเสียชีวิตจากโรคหัด ตัวชี้วัด ๑. ด้านพฤติกรรมสุขภาพ และความรู้ KPI๑ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและภาคประชาชนมีการเห็นความสำคัญของประโยชน์วัคซีนป้องกันโรคมากขึ้น ร้อยละ ๙๐.๐ KPI๒ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและภาคประชาชนมีความรู้เรื่องการป้องกันโรคจากวัคซีน วิธีการดูแลภายหลังฉีดวัคซีน ความรุนแรงและผลกระทบจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ร้อยละ ๑๐๐.๐ ๒. ด้านลดป่วย ลดโรค KPI ๓ เด็กอายุ ๐-๕ ปี ได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัดไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๕ KPI ๔ จำนวนผู้ป่วยโรคหัดลดลงเมื่อเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง ๕ ปี และอัตราป่วยตาย เท่ากับ ๐
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 250
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ให้ภาคีเครือข่ายและภาคประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพและความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องต่อไปนี้ 1.1 เพื่อให้ภาคีเครือข่ายและภาคประชาชน ให้ความสำคัญ มีความเชื่อและทัศนคติทางบวก และเห็นประโยชน์ของวัคซีนป้องกันโรคมากขึ้น  1.2 เพื่อให้ภาคีเครือข่ายและภาคประชาชน มีความรู้เรื่องการป้องกันโรคจากวัคซีน วิธีการดูแลภายหลังฉีดวัคซีน ความรุนแรงและผลกระทบจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน (2) 2. เพื่อให้ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัดเด็กอายุ ๐-๕ ปี และกลุ่มผู้สัมผัสผ่านเกณฑ์ในพื้นที่เป้าหมาย (3) ๓. เพื่อให้จำนวนผู้ป่วยโรคหัดลดลงเมื่อเทียบกับค่ามัธยฐาน และลดการเสียชีวิตจากโรคหัด ตัวชี้วัด  ๑. ด้านพฤติกรรมสุขภาพ และความรู้ KPI๑ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและภาคประชาชนมีการเห็นความสำคัญของประโยชน์วัคซีนป้องกันโรคมากขึ้น ร้อยละ ๙๐.๐ KPI๒ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและภาคประชาชนมีความรู้เรื่องการป้องกันโรคจากวัคซีน วิธีการดูแลภายหลังฉีดวัคซีน ความรุนแรงและผลกระทบจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ร้อยละ ๑๐๐.๐ ๒. ด้านลดป่วย ลดโรค            KPI ๓ เด็กอายุ ๐-๕ ปี ได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัดไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๕ KPI ๔ จำนวนผู้ป่วยโรคหัดลดลงเมื่อเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง ๕ ปี และอัตราป่วยตาย เท่ากับ ๐

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเร่งรัดแก้ไขปัญหาการป้องกันควบคุมโรคหัดตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 62-L3027-05-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอายุ กาซา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด