โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกกรณีระบาด ปีงบประมาณ 2562
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกกรณีระบาด ปีงบประมาณ 2562 ”
ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
เทศบาลเมืองม่วงงาม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม
กันยายน 2562
ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกกรณีระบาด ปีงบประมาณ 2562
ที่อยู่ ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 พฤศจิกายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกกรณีระบาด ปีงบประมาณ 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกกรณีระบาด ปีงบประมาณ 2562
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ความรู้กับประชาชน ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ (2) ข้อที่ 2 เพื่อรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน (3) ข้อที่ 3 เพื่อการควบคุมโรคให้ทันเวลาภายหลังการได้รับแจ้ง โดยการกำจัดยุงพาหะนำโรคอย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้และการประชาสัมพันธ์ (2) กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน และกิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออก (3) กิจกรรมพ่นเคมีทำลายยุงพาหะนำโรคเพื่อควบคุมโรคไข้เลือดในชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ประชาชนยังขาดความรู้ ความมตระหนัก ในเรื่องโรคไข้เลือดออก ความร่วมมือในการร่วมกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายยังไม่ดีเท่าไร
(2) เทศบาลมีความพร้อมในการควบคุมโรคโดยการพ่นเคมี แต่เมื่อออกไปในชุมชน ประชาชนบางหลังคาเรือนไม่ให้ความร่วมมือในการพ่น ทำให้ประสิทธิภาพในการควบคุมโรคไม่เต็มที่
(3) บางครั้งความพร้อมของเครือข่าย เช่น อสม. ในบางพื้นที่่ยังขาดไบ้าง ทำให้เมื่อเทศบาลออกไปปฏิบัติงานไม่ทราบพิกัดที่แน่ชัด และประชาชนไม่ราบว่าจะมีการดำเนินการพ่นเคมี
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เทศบาลเมืองม่วงงาม ได้รับแจ้งสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลม่วงงาม ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 พบผู้ป่วยไข้เลือดออก
ตามการวินิจฉัยทุกประเภท จำนวน 79 ราย โดยพบผู้ป่วยจำแนกรายหมู่บ้าน ในหมู่ที่ 1 บ้านปะโอ
จำนวน 5 ราย หมู่ที่ 2 บ้านบ่อเตี้ย จำนวน 5 ราย หมู่ที่ 3 บ้านม่วงงาม จำนวน 27 ราย
หมู่ที่ 4 บ้านสุเหร่าเก่า จำนวน 3 ราย หมู่ที่ 5 บ้านประตูเขียน จำนวน 5 ราย หมู่ที่ 6 บ้านม่วงงามล่าง
จำนวน 2 ราย หมู่ที่ 7 บ้านม่วงงามเนิน จำนวน 6 ราย หมู่ที่ 8 บ้านม่วงพุ่ม จำนวน 9 ราย
หมู่ที่ 9 บ้านเสื้อเมือง จำนวน 15 ราย หมู่ที่ 10 บ้านมะขามคลานจำนวน 2 ราย โดยมีแนวโน้มการระบาด
เรียงตามลำดับรายเดือนดังนี้ มกราคม จำนวน 2 ราย กุมภาพันธ์ จำนวน 3 ราย มีนาคม จำนวน 3 คน
เมษายน จำนวน 2 ราย พฤษภาคม จำนวน 9 ราย มิถุนายน จำนวน 9 ราย กรกฎาคม จำนวน 22 ราย สิงหาคม 2561 จำนวน 18 ราย กันยายน 2561 จำนวน 11 ราย ประกอบกับข้อมูลสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในภาพรวมของจังหวัดสงขลา ตั้งแต่เดือนมกราคม 2561 เป็นต้นมา อำเภอสิงหนครมีอัตราป่วยสูงที่สุดของจังหวัดสงขลา
จากสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกดังกล่าว จะเห็นได้ว่าการระบาดของโรคไข้เลือดออก
ของตำบลม่วงงามยังอยู่ในสถานการณ์ที่น่าเป็นห่วง จำเป็นที่จะต้องได้รับการควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ
ภายใต้ความร่วมมือของภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพ และการมีทรัพยากรในการควบคุมโรคอย่างเพียงพอ
เทศบาลเมืองม่วงงามจึงได้จัดทำโครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกกรณีระบาด ปีงบประมาณ 2562
เพื่อให้การดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออกเป็นไปอย่างต่อเนื่อง สามารถหยุดการระบาดของโรคไข้เลือดออก ป้องกันความสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชนในเขตความรับผิดชอบของเทศบาลเมืองม่วงงาม ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อให้ความรู้กับประชาชน ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยการรณรงค์ประชาสัมพันธ์
- ข้อที่ 2 เพื่อรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน
- ข้อที่ 3 เพื่อการควบคุมโรคให้ทันเวลาภายหลังการได้รับแจ้ง โดยการกำจัดยุงพาหะนำโรคอย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมให้ความรู้และการประชาสัมพันธ์
- กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน และกิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออก
- กิจกรรมพ่นเคมีทำลายยุงพาหะนำโรคเพื่อควบคุมโรคไข้เลือดในชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
12,041
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สามารถควบคุมโรคได้อย่างทันเวลา และสามารถหยุดการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
ตำบลม่วงงามที่มีอย่างต่อเนื่องได้
- ไม่พบการสูญเสียในระดับที่รุนแรงของประชาชนจากโรคไข้เลือดออก
- ความมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายสุขภาพในการควบคุมโรคในพื้นที่ตำบลม่วงงาม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1 เพื่อให้ความรู้กับประชาชน ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยการรณรงค์ประชาสัมพันธ์
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก
2. ประชาชนปฏิบัติตัวได้ถูกต้องเมื่อป่วยเป็นโรคไข้เลือดออก
0.00
2
ข้อที่ 2 เพื่อรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. ความร่วมมือของประชาชนกับภาคีเครือข่ายสุขภาพในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
2. ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชนไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน
0.00
3
ข้อที่ 3 เพื่อการควบคุมโรคให้ทันเวลาภายหลังการได้รับแจ้ง โดยการกำจัดยุงพาหะนำโรคอย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ตัวชี้วัด : 1. ความพร้อมใช้ของอุปกรณ์ในการควบคุมโรค
2. ความทันเวลาในการพ่นเคมี
3. ความสำเร็จในการควบคุมโรค
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
12041
12041
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
12,041
12,041
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ความรู้กับประชาชน ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ (2) ข้อที่ 2 เพื่อรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน (3) ข้อที่ 3 เพื่อการควบคุมโรคให้ทันเวลาภายหลังการได้รับแจ้ง โดยการกำจัดยุงพาหะนำโรคอย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้และการประชาสัมพันธ์ (2) กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน และกิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออก (3) กิจกรรมพ่นเคมีทำลายยุงพาหะนำโรคเพื่อควบคุมโรคไข้เลือดในชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ประชาชนยังขาดความรู้ ความมตระหนัก ในเรื่องโรคไข้เลือดออก ความร่วมมือในการร่วมกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายยังไม่ดีเท่าไร
(2) เทศบาลมีความพร้อมในการควบคุมโรคโดยการพ่นเคมี แต่เมื่อออกไปในชุมชน ประชาชนบางหลังคาเรือนไม่ให้ความร่วมมือในการพ่น ทำให้ประสิทธิภาพในการควบคุมโรคไม่เต็มที่
(3) บางครั้งความพร้อมของเครือข่าย เช่น อสม. ในบางพื้นที่่ยังขาดไบ้าง ทำให้เมื่อเทศบาลออกไปปฏิบัติงานไม่ทราบพิกัดที่แน่ชัด และประชาชนไม่ราบว่าจะมีการดำเนินการพ่นเคมี
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกกรณีระบาด ปีงบประมาณ 2562 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( เทศบาลเมืองม่วงงาม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกกรณีระบาด ปีงบประมาณ 2562 ”
ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
เทศบาลเมืองม่วงงาม
กันยายน 2562
ที่อยู่ ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 พฤศจิกายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกกรณีระบาด ปีงบประมาณ 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกกรณีระบาด ปีงบประมาณ 2562
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ความรู้กับประชาชน ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ (2) ข้อที่ 2 เพื่อรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน (3) ข้อที่ 3 เพื่อการควบคุมโรคให้ทันเวลาภายหลังการได้รับแจ้ง โดยการกำจัดยุงพาหะนำโรคอย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้และการประชาสัมพันธ์ (2) กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน และกิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออก (3) กิจกรรมพ่นเคมีทำลายยุงพาหะนำโรคเพื่อควบคุมโรคไข้เลือดในชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ประชาชนยังขาดความรู้ ความมตระหนัก ในเรื่องโรคไข้เลือดออก ความร่วมมือในการร่วมกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายยังไม่ดีเท่าไร (2) เทศบาลมีความพร้อมในการควบคุมโรคโดยการพ่นเคมี แต่เมื่อออกไปในชุมชน ประชาชนบางหลังคาเรือนไม่ให้ความร่วมมือในการพ่น ทำให้ประสิทธิภาพในการควบคุมโรคไม่เต็มที่ (3) บางครั้งความพร้อมของเครือข่าย เช่น อสม. ในบางพื้นที่่ยังขาดไบ้าง ทำให้เมื่อเทศบาลออกไปปฏิบัติงานไม่ทราบพิกัดที่แน่ชัด และประชาชนไม่ราบว่าจะมีการดำเนินการพ่นเคมี
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เทศบาลเมืองม่วงงาม ได้รับแจ้งสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลม่วงงาม ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 พบผู้ป่วยไข้เลือดออก
ตามการวินิจฉัยทุกประเภท จำนวน 79 ราย โดยพบผู้ป่วยจำแนกรายหมู่บ้าน ในหมู่ที่ 1 บ้านปะโอ
จำนวน 5 ราย หมู่ที่ 2 บ้านบ่อเตี้ย จำนวน 5 ราย หมู่ที่ 3 บ้านม่วงงาม จำนวน 27 ราย
หมู่ที่ 4 บ้านสุเหร่าเก่า จำนวน 3 ราย หมู่ที่ 5 บ้านประตูเขียน จำนวน 5 ราย หมู่ที่ 6 บ้านม่วงงามล่าง
จำนวน 2 ราย หมู่ที่ 7 บ้านม่วงงามเนิน จำนวน 6 ราย หมู่ที่ 8 บ้านม่วงพุ่ม จำนวน 9 ราย
หมู่ที่ 9 บ้านเสื้อเมือง จำนวน 15 ราย หมู่ที่ 10 บ้านมะขามคลานจำนวน 2 ราย โดยมีแนวโน้มการระบาด
เรียงตามลำดับรายเดือนดังนี้ มกราคม จำนวน 2 ราย กุมภาพันธ์ จำนวน 3 ราย มีนาคม จำนวน 3 คน
เมษายน จำนวน 2 ราย พฤษภาคม จำนวน 9 ราย มิถุนายน จำนวน 9 ราย กรกฎาคม จำนวน 22 ราย สิงหาคม 2561 จำนวน 18 ราย กันยายน 2561 จำนวน 11 ราย ประกอบกับข้อมูลสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในภาพรวมของจังหวัดสงขลา ตั้งแต่เดือนมกราคม 2561 เป็นต้นมา อำเภอสิงหนครมีอัตราป่วยสูงที่สุดของจังหวัดสงขลา
จากสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกดังกล่าว จะเห็นได้ว่าการระบาดของโรคไข้เลือดออก
ของตำบลม่วงงามยังอยู่ในสถานการณ์ที่น่าเป็นห่วง จำเป็นที่จะต้องได้รับการควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ
ภายใต้ความร่วมมือของภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพ และการมีทรัพยากรในการควบคุมโรคอย่างเพียงพอ
เทศบาลเมืองม่วงงามจึงได้จัดทำโครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกกรณีระบาด ปีงบประมาณ 2562
เพื่อให้การดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออกเป็นไปอย่างต่อเนื่อง สามารถหยุดการระบาดของโรคไข้เลือดออก ป้องกันความสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชนในเขตความรับผิดชอบของเทศบาลเมืองม่วงงาม ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อให้ความรู้กับประชาชน ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยการรณรงค์ประชาสัมพันธ์
- ข้อที่ 2 เพื่อรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน
- ข้อที่ 3 เพื่อการควบคุมโรคให้ทันเวลาภายหลังการได้รับแจ้ง โดยการกำจัดยุงพาหะนำโรคอย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมให้ความรู้และการประชาสัมพันธ์
- กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน และกิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออก
- กิจกรรมพ่นเคมีทำลายยุงพาหะนำโรคเพื่อควบคุมโรคไข้เลือดในชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 12,041 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สามารถควบคุมโรคได้อย่างทันเวลา และสามารถหยุดการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ ตำบลม่วงงามที่มีอย่างต่อเนื่องได้
- ไม่พบการสูญเสียในระดับที่รุนแรงของประชาชนจากโรคไข้เลือดออก
- ความมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายสุขภาพในการควบคุมโรคในพื้นที่ตำบลม่วงงาม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อให้ความรู้กับประชาชน ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก 2. ประชาชนปฏิบัติตัวได้ถูกต้องเมื่อป่วยเป็นโรคไข้เลือดออก |
0.00 |
|
||
2 | ข้อที่ 2 เพื่อรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน ตัวชี้วัด : 1. ความร่วมมือของประชาชนกับภาคีเครือข่ายสุขภาพในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 2. ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชนไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน |
0.00 |
|
||
3 | ข้อที่ 3 เพื่อการควบคุมโรคให้ทันเวลาภายหลังการได้รับแจ้ง โดยการกำจัดยุงพาหะนำโรคอย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตัวชี้วัด : 1. ความพร้อมใช้ของอุปกรณ์ในการควบคุมโรค 2. ความทันเวลาในการพ่นเคมี 3. ความสำเร็จในการควบคุมโรค |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 12041 | 12041 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 12,041 | 12,041 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ความรู้กับประชาชน ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ (2) ข้อที่ 2 เพื่อรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน (3) ข้อที่ 3 เพื่อการควบคุมโรคให้ทันเวลาภายหลังการได้รับแจ้ง โดยการกำจัดยุงพาหะนำโรคอย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้และการประชาสัมพันธ์ (2) กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน และกิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออก (3) กิจกรรมพ่นเคมีทำลายยุงพาหะนำโรคเพื่อควบคุมโรคไข้เลือดในชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ประชาชนยังขาดความรู้ ความมตระหนัก ในเรื่องโรคไข้เลือดออก ความร่วมมือในการร่วมกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายยังไม่ดีเท่าไร (2) เทศบาลมีความพร้อมในการควบคุมโรคโดยการพ่นเคมี แต่เมื่อออกไปในชุมชน ประชาชนบางหลังคาเรือนไม่ให้ความร่วมมือในการพ่น ทำให้ประสิทธิภาพในการควบคุมโรคไม่เต็มที่ (3) บางครั้งความพร้อมของเครือข่าย เช่น อสม. ในบางพื้นที่่ยังขาดไบ้าง ทำให้เมื่อเทศบาลออกไปปฏิบัติงานไม่ทราบพิกัดที่แน่ชัด และประชาชนไม่ราบว่าจะมีการดำเนินการพ่นเคมี
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกกรณีระบาด ปีงบประมาณ 2562 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( เทศบาลเมืองม่วงงาม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......