กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โนนรัง


“ โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองสุขภาพประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ”

ตำบลโนนรัง อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโนนรัง

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองสุขภาพประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป

ที่อยู่ ตำบลโนนรัง อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัด อุบลราชธานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ตุลาคม 2560 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองสุขภาพประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป จังหวัดอุบลราชธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโนนรัง อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โนนรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองสุขภาพประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป



บทคัดย่อ

โครงการตรวจสุขภาพประจำปี จัดทำขึ้นมีวัตถุประสงค์เพื่อคัดกรองภาวะสุขภาพผู้รับบริการ และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการตรวจสุขภาพประจำปีเชิงรุก มีการดำเนินงานให้บริการตรวจสุขภาพประจำปีเชิงรุกนอกสถานที่ แก่หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่มีความประสงค์ตรวจสุขภาพ และมารับบริการในสถานที่  (visit 2) ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ โดยจัดโปรแกรมการตรวจสุขภาพแบ่งออกเป็น 2 โปรแกรม ได้แก่ โปรแกรมตรวจสุขภาพสำหรับผู้มีอายุน้อยกว่า 35 ปี และโปรแกรมตรวจสุขภาพสำหรับผู้มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป  ผู้รับบริการรวมทั้งสิ้นจำนวน 1200 ราย ซึ่งพบว่าผู้รับบริการตรวจสุขภาพประจำปีเชิงรุกส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 60.89 เมื่อพิจารณารายกลุ่มอายุพบว่า ผู้รับบริการอายุน้อยกว่า 35 ปี เพศหญิงมาใช้บริการ ร้อยละ 57.08 เพศชายมาใช้บริการ ร้อยละ 42.92 และผู้รับบริการอายุตั้งแต่ 35 ปี เพศหญิงมาใช้บริการ ร้อยละ 61.99 เพศชายมาใช้บริการ ร้อยละ 38.02  ผลการตรวจสุขภาพประจำปีเชิงรุกที่ผิดปกติเป็นส่วนใหญ่ คือ  ผลการตรวจสุขภาพประจำปีเชิงรุกที่ผิดปกติมากที่สุด คือ ระดับความดันโลหิตสูง ร้อยละ 42.61 รองลงมาคือระดับน้ำตาลในเลือดผิดปกติ ร้อยละ 33.72 ค่าผิดปกติน้อยที่สุดคือค่าดัชนีมวลกายเกินเกณฑ์มาตราฐาน 23.67 จาการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ พบว่าผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการให้บริการตรวจสุขภาพประจำปีเชิงรุก ส่วนใหญ่ความพึงพอใจอยู่ในระดับดี การจัดทำโครงการนี้มีประโยชน์ต่อการนำไปพัฒนารูปแบบการให้บริการตรวจสุขภาพประจำปีเชิงรุกให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และใช้เป็นแหล่งข้อมูลในการติดตามภาวะสุขภาพผู้รับบริการที่มีผลการตรวจผิดปกติ นำมาศึกษาพฤติกรรมการดูแลสุขภาพเพื่อเป็นแนวทางการส่งเสริมสุขภาพต่อไป
บทนำ       การส่งเสริมสุขภาพ หมายถึง กระบวนการสร้างสมรรถนะ ให้คนเรามีความสามารถเพิ่มขึ้นในการควบคุมปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดสุขภาพ และเป็นผลให้บุคคลมีสุขภาพดีขึ้น การส่งเสริมสุขภาพ เป็นการเอื้ออำนวยให้มีสภาวะร่างกาย จิตใจ และความเป็นอยู่ในสังคมที่สมบูรณ์ บุคคล หรือชุมชนสามารถระบุสิ่งที่จำเป็น ในการที่จะบรรลุการมีสุขภาพดี และในการเปลี่ยน หรือการจัดสิ่งแวดล้อมสุขภาพนั้น ถือเป็นแนวความคิดด้านบวกที่เน้นทรัพยากรทางสังคมและส่วนบุคคล มากเท่ากับเน้นความสามารถทางกาย โดยนัยนี้ การส่งเสริมสุขภาพจึงไม่ใช่เป็นความรับผิดชอบของหน่วยงานด้านสุขภาพเท่านั้น แต่รวมไปถึงการที่ประชาชนมีการปฏิบัติให้เกิดวิถีชีวิตที่ดี เพื่อความเป็นอยู่ที่ดี (ธัชชัย มุ่งการดี , 2534)
        การทำงานที่ต้องแข่งกับเวลา ขาดการออกกำลังกาย มลพิษต่างๆในสิ่งแวดล้อม หรือการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ ทำให้ร่างกายอาจเกิดปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพพลานามัยได้ การตรวจสุขภาพประจำปีจะช่วยให้ทราบว่าขณะนี้ร่างกายอยู่ในระดับไหน มีโรคร้ายแฝงอยู่หรือไม่ โดยเฉพาะโรคที่อยู่ในขอบเขตที่การแพทย์ปัจจุบันสามารถตรวจพบได้ ซึ่งจะทำให้สามารถปฏิบัติตัวได้เหมาะสม เพื่อป้องกันอันตรายจากภาวะแทรกซ้อนของโรค และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ดังนั้น การให้บริการตรวจสุขภาพประจำปีเชิงรุก อำนวยความสะดวก บริการตรวจสุขภาพและให้ความรู้ด้านสุขภาพตามความเหมาะสมของแต่ละวัยในสถานที่ทำงาน เป็นแนวทางหนึ่งที่กระตุ้นให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพตนเอง

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันพฤติกรรมของแต่บุคคลมีความเร่งรีบเพื่อทำงานแข่งกับเวลา ไม่ค่อยได้ใส่ใจกับภาวะสุขภาพมาก การกินอาหารที่เร่งรีบ การพักผ่อนน้อยรวมทั้งมีอาการเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน ได้แก่ ผู้มีอายุ 15 ปีขึ้นไป มีญาติสายตรงคือ พ่อ แม่ พี่ น้อง คนใดคนหนึ่งป่วยเป็นโรคเบาหวาน  เป็นโรคอ้วน ไม่ออกกำลังกาย มีประวัติเคยตรวจพบระดับน้ำตาล ในเลือดสูงผิดปกติ หรือเคยตรวจพบความทนต่อน้ำตาลบกพร่อง แต่ยังไม่ถึงเกณฑ์เป็นเบาหวาน เป็นต้น
นอกจากนี้  ทุก ๆ คนต้องมีความดันโลหิต  เพราะจะเป็นตัวที่พาเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ ดังนั้นทุกคนจะ ต้องเรียนรู้เกี่ยวกับความดันโลหิตและรักษามันให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ  เพราะหากความดันโลหิตสูงไปจะทำให้เกิดโรคตามมา อีกมากมาย  เมื่อหัวใจบีบตัวหัวใจจะบีบเลือดไปยังหลอดเลือดแดงทำให้เกิดความดันโลหิต  ซึ่งเกิดจากการบีบตัวของหัวใจ
และแรงต้านทานของหลอดเลือด  หัวใจคนเราเต้น 60 - 80 ครั้งความดันก็จะเพิ่มขณะที่หัวใจบีบตัวและลดลงขณะที่หัวใจ
คลายตัว  ความดันโลหิตของคนเราไม่เท่ากันตลอดเวลาขั้นกับท่า  ความเครียด  การออกกำลังกาย  การนอนหลับ
แต่ไม่ควรเกิน  140/90  มิลลิเมตรปรอท  หากสูงกว่านี้แสดงว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูง โรคความดันโลหิตสูงเป็นปัจจัย
เสี่ยงทำให้เกิดโรคหัวใจ  โรคไต  โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคอัมพาต โรคหัวใจเป็นโรคที่มีอัตราตายสูง ดังนั้นการป้องกัน
ความดันโลหิตสูงสามารถป้องกันอัตราการตาย จากโรคหัวใจและโรคอัมพาต    โรคความดันโลหิตสูงเป็นภัยเงียบที่คุกคาม
ชีวิตของทุกคนเนื่องจากไม่มีอาการเตือน
ดังนั้น  เพื่อเป็นการเฝ้าระวังโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโนนรัง เล็งเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น   จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการตรวจสุขภาพประชากรกลุ่มเสี่ยง  คือ 15 ปีขึ้นไปอย่างสม่ำเสมอ  และต้องมีการให้คำแนะนำที่ถูกต้องตลอดจนมีการดูแลผู้ป่วย ที่พบแล้วเพื่อให้มีการรักษาอย่างต่อเนื่อง



สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลด ประชากร(อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง
  2. ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด
  3. เพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองสุขภาพประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 600
กลุ่มผู้สูงอายุ 400
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เป้าหมาย
ด้านคุณภาพ 1.ประชาชน อายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจหาเบาหวานและวัดความดันโลหิต
2.ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจตามเกณฑ์มาตรฐาน
3.ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับยาและการดูแลตามแผนการรักษาของแพทย์
ด้านปริมาณ
1.ประชาชน อายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจหาเบาหวานและวัดความดันโลหิต ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 2.ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 100
3.ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับยาและการดูแลตามแผนการรักษาของแพทย์ ร้อยละ 100   ผลการดำเนินงาน       เจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโนนรัง ได้จัดบริการออกตรวจสุขภาพประชาชนที่มีอายุ 15 ปี ขึ้นไปในเขตพื้นที่รับผิดชอบของหน่วยบริการ โดยมีการให้บริการ ตรวจวัดความดันโลหิต ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด ตรวจความเข้มข้นของเม็ดเลือด ตรวจสุขภาพช่องปากและฟัน ตรวจวัดสายตา ตรวจคัดกรองภาวะซึมเศร้า ตรวจคัดกรองผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการป่วยด้วยโรควัณโรค พร้อมทั้งให้คำปรึกษาแนะนำการดูแลสุขภาพตนเอง และให้บริการจัดส่งต่อผู้ป่วยที่ตรวจพบภาวะเสี่ยงต่อการป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคตาต้อกระจกในผู้สูงอายุ เข้าตรวจรับการรักษาที่โรงพยาบาลเขื่องในต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองสุขภาพประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป

วันที่ 8 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเพื่อเสนอแผนงานโครงการ เสนอแผนแผนงานโครงการเพื่อขอรับงบสนับสนุน ดำเนินกิจกรรมตามแผนงานโครงการ  ตรวจวัดความดันโลหิต ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด ตรวจสารเคมีในเลือด ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง คำนวณค่า BMI รายบุคคล สรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ ติดตามประเมินผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตรวจคัดกรองสุขภาพประชาชน อายุ 15 ปี้นไป ในเขตพื้นที่ตำบลโนนรัง เพื่อค้นหาผู้ทีมีภาวะเสี่ยงต่อโรคอ้วน ลงพุง  โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
อัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความความดันโลหิตูง โรคอ้วนลงพุง ลดลงร้อยละ 80 ผู้เข้ากิจกรรมมีความรู้ข้อมูลภาวะสุขภาพตนเองร้อยละ 100 ผุ้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเอง ร้อยละ 100

 

1,200 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลด ประชากร(อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชากร (อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง
80.00 80.00 80.00

ประชากรอายุมากกว่า 15 ปี มีค่าดัชนีมวลกายอยู่เกณฑืมาตราฐาน ร้อยละ 80

2 ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ
80.00 80.00 80.00

ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ ลดลง

3 เพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม เพิ่มขึ้นเป็น
80.00 80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 600
กลุ่มผู้สูงอายุ 400
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการตรวจสุขภาพประจำปี จัดทำขึ้นมีวัตถุประสงค์เพื่อคัดกรองภาวะสุขภาพผู้รับบริการ และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการตรวจสุขภาพประจำปีเชิงรุก มีการดำเนินงานให้บริการตรวจสุขภาพประจำปีเชิงรุกนอกสถานที่ แก่หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่มีความประสงค์ตรวจสุขภาพ และมารับบริการในสถานที่  (visit 2) ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ โดยจัดโปรแกรมการตรวจสุขภาพแบ่งออกเป็น 2 โปรแกรม ได้แก่ โปรแกรมตรวจสุขภาพสำหรับผู้มีอายุน้อยกว่า 35 ปี และโปรแกรมตรวจสุขภาพสำหรับผู้มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป  ผู้รับบริการรวมทั้งสิ้นจำนวน 1200 ราย ซึ่งพบว่าผู้รับบริการตรวจสุขภาพประจำปีเชิงรุกส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 60.89 เมื่อพิจารณารายกลุ่มอายุพบว่า ผู้รับบริการอายุน้อยกว่า 35 ปี เพศหญิงมาใช้บริการ ร้อยละ 57.08 เพศชายมาใช้บริการ ร้อยละ 42.92 และผู้รับบริการอายุตั้งแต่ 35 ปี เพศหญิงมาใช้บริการ ร้อยละ 61.99 เพศชายมาใช้บริการ ร้อยละ 38.02  ผลการตรวจสุขภาพประจำปีเชิงรุกที่ผิดปกติเป็นส่วนใหญ่ คือ  ผลการตรวจสุขภาพประจำปีเชิงรุกที่ผิดปกติมากที่สุด คือ ระดับความดันโลหิตสูง ร้อยละ 42.61 รองลงมาคือระดับน้ำตาลในเลือดผิดปกติ ร้อยละ 33.72 ค่าผิดปกติน้อยที่สุดคือค่าดัชนีมวลกายเกินเกณฑ์มาตราฐาน 23.67 จาการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ พบว่าผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการให้บริการตรวจสุขภาพประจำปีเชิงรุก ส่วนใหญ่ความพึงพอใจอยู่ในระดับดี การจัดทำโครงการนี้มีประโยชน์ต่อการนำไปพัฒนารูปแบบการให้บริการตรวจสุขภาพประจำปีเชิงรุกให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และใช้เป็นแหล่งข้อมูลในการติดตามภาวะสุขภาพผู้รับบริการที่มีผลการตรวจผิดปกติ นำมาศึกษาพฤติกรรมการดูแลสุขภาพเพื่อเป็นแนวทางการส่งเสริมสุขภาพต่อไป
บทนำ       การส่งเสริมสุขภาพ หมายถึง กระบวนการสร้างสมรรถนะ ให้คนเรามีความสามารถเพิ่มขึ้นในการควบคุมปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดสุขภาพ และเป็นผลให้บุคคลมีสุขภาพดีขึ้น การส่งเสริมสุขภาพ เป็นการเอื้ออำนวยให้มีสภาวะร่างกาย จิตใจ และความเป็นอยู่ในสังคมที่สมบูรณ์ บุคคล หรือชุมชนสามารถระบุสิ่งที่จำเป็น ในการที่จะบรรลุการมีสุขภาพดี และในการเปลี่ยน หรือการจัดสิ่งแวดล้อมสุขภาพนั้น ถือเป็นแนวความคิดด้านบวกที่เน้นทรัพยากรทางสังคมและส่วนบุคคล มากเท่ากับเน้นความสามารถทางกาย โดยนัยนี้ การส่งเสริมสุขภาพจึงไม่ใช่เป็นความรับผิดชอบของหน่วยงานด้านสุขภาพเท่านั้น แต่รวมไปถึงการที่ประชาชนมีการปฏิบัติให้เกิดวิถีชีวิตที่ดี เพื่อความเป็นอยู่ที่ดี (ธัชชัย มุ่งการดี , 2534)
        การทำงานที่ต้องแข่งกับเวลา ขาดการออกกำลังกาย มลพิษต่างๆในสิ่งแวดล้อม หรือการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ ทำให้ร่างกายอาจเกิดปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพพลานามัยได้ การตรวจสุขภาพประจำปีจะช่วยให้ทราบว่าขณะนี้ร่างกายอยู่ในระดับไหน มีโรคร้ายแฝงอยู่หรือไม่ โดยเฉพาะโรคที่อยู่ในขอบเขตที่การแพทย์ปัจจุบันสามารถตรวจพบได้ ซึ่งจะทำให้สามารถปฏิบัติตัวได้เหมาะสม เพื่อป้องกันอันตรายจากภาวะแทรกซ้อนของโรค และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ดังนั้น การให้บริการตรวจสุขภาพประจำปีเชิงรุก อำนวยความสะดวก บริการตรวจสุขภาพและให้ความรู้ด้านสุขภาพตามความเหมาะสมของแต่ละวัยในสถานที่ทำงาน เป็นแนวทางหนึ่งที่กระตุ้นให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพตนเอง

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองสุขภาพประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป

ระยะเวลาโครงการ 2 ตุลาคม 2560 - 28 กันยายน 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองสุขภาพประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป จังหวัด อุบลราชธานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโนนรัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด