โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพแบบบูรณาการ หมู่ที่ 7 บ้านโนนจานเก่า
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพแบบบูรณาการ หมู่ที่ 7 บ้านโนนจานเก่า ”
ศาลาประชาคม หมู่ที่ 7 บ้านโนนจานเก่า ตำบลท่าไห อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี
หัวหน้าโครงการ
กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 7
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าไห
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพแบบบูรณาการ หมู่ที่ 7 บ้านโนนจานเก่า
ที่อยู่ ศาลาประชาคม หมู่ที่ 7 บ้านโนนจานเก่า ตำบลท่าไห อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัด อุบลราชธานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพแบบบูรณาการ หมู่ที่ 7 บ้านโนนจานเก่า จังหวัดอุบลราชธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศาลาประชาคม หมู่ที่ 7 บ้านโนนจานเก่า ตำบลท่าไห อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าไห ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพแบบบูรณาการ หมู่ที่ 7 บ้านโนนจานเก่า
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพแบบบูรณาการ หมู่ที่ 7 บ้านโนนจานเก่า " ดำเนินการในพื้นที่ ศาลาประชาคม หมู่ที่ 7 บ้านโนนจานเก่า ตำบลท่าไห อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าไห เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพที่ดีเป็นสิ่งที่ทุกคนพึงปรารถนา การมีสุขภาพที่ดีมิได้หมายถึงเพียงการมีหลักประกันในการเข้าถึงบริการสุขภาพเท่านั้น ต้องขึ้นอยู่กับประชาชนรู้จักการดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อให้มีสุขภาพที่แข็งแรงอยู่เสมอ เพราะโรคบางโรคสามารถป้องกันได้ด้วยการออกกำลังกายดีกว่าการรอให้เกิดการเจ็บป่วยแล้วรักษา จะทำให้สิ้นเปลืองทรัพยากรและงบประมาณในการดูแลรักษาจำนวนมาก การที่คนเรามีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันโรคที่ดี ดังนั้นประชาชนจึงควรมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้ตนเองมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและลดปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคต่าง ๆ ตามมา เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคอ้วน โรคมะเร็ง ความเครียด ฯลฯ
ดังนั้น กลุ่มอาสาสมัครหมู่บ้าน และผู้นำชุมชน บ้านโนนจานเก่า หมู่ที่ 7 ตำบลท่าไห ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นของการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคด้วยการออกกำลังกายแบบบูรณาการ เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญในการออกกำลังกายและเป็นการปลูกฝังค่านิยมที่ดีให้แก่ประชาชนในเรื่องพฤติกรรมการออกกำลังกาย ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์แล้วยังช่วยเสริมสร้างให้ร่างกาย แข็งแรง ผ่อนคลายอารมณ์ เสริมสร้างความสามัคคีและที่สำคัญการออกกำลังกายยังลดความเสี่ยงต่อการ เกิดโรคดังกล่าว จึงได้จัด โครงการ ส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพแบบบูรณาการ ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
- เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การสร้างแกนนำ
- การดำเนินการโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่เพิ่มมากขึ้น
- ประชาชนมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น
- ประชาชนออกกำลังกายในชุมชนเพิ่มมากขึ้น
4. ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
วันที่ 1 เมษายน 2561กิจกรรมที่ทำ
3.1 ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย เช่น การปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้ การจักรสานในชุมชน การสัญจรโดยการเดิน ปั่นจักรยาน
3.2 ส่งเสริมกิจกรรมการออกกำลังกายทุกวันจันทร์ พุธ และศุกร์
วันจันทร์ กิจกรรมออกกำลังกาย เต้นแอโรบิค
วันพุธ กิจกรรมออกกำลังกาย เต้นบาสโลบ
วันศุกร์ กิจกรรมออกกำลังกาย ฤาษีดัดตน/รำไม้พลอง/ยางยืด
กิจกรรมสามารถปรับตามความเหมาะสม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ประชาชนมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่เพิ่มมากขึ้น
- ประชาชนมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น
- ประชาชนออกกำลังกายในชุมชนเพิ่มมากขึ้น
- ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้
0
0
2. การสร้างแกนนำ
วันที่ 9 เมษายน 2561กิจกรรมที่ทำ
1.1 ประชุมชี้แจงโครงการฯ แก่คณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดเนื้อหา กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ การพิจารณากลุ่มเป้าหมาย และชี้แจงวัตถุประสงค์ของการดำเนินงาน
1.2 ประสานกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วมกิจกรรม ได้แก่ ประชาชนกลุ่มวัยทำงาน ผู้นำชุมชน อสม.
1.3 ประสานวิทยากร
1.3 จัดตั้งชมรม ตนรักษ์สุขภาพ ประจำหมู่บ้าน
1.4 ติดต่อผู้นำออกกำลังกาย (ผู้นำเต้นในชุมชน)
1.5 ดำเนินการประชุมกลุ่ม เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และกำหนดกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ชื่อ ชมรมคนรักษ์สุขภาพ หมู่ที่ 7 บ้านโนนจานเก่า
- คณะกรรมการชมรม ทั้งหมด 13 คน โดยมีนาย พลตรี แสงสุข เป็นประธาน
- นางอุบล บุญจอง เป็นแก่นนำออกกำลังกาย หมู่ที่ 7
- เตรียมกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมอบรม กลุ่มอายุ 18-64 ปี จำนวน 20 คน กลุ่มผู้สูงอายุ 65 ปี จำนวน 30 คน
0
0
3. การดำเนินการโครงการ
วันที่ 19 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
2.1 ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมอบรม
2.2 อบรมประชาชนกลุ่มเป้าหมาย โดยให้ความรู้ / อภิปราย / สาธิต / ฝีกปฏิบัติ
2.3 ติดตามและประเมินผลการดำเนินการตามโครงการตามระยะเวลาที่กำหนด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.มีผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100
2.
50
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
30.00
60.00
2
เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
30.00
60.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ (2) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (2) การสร้างแกนนำ (3) การดำเนินการโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพแบบบูรณาการ หมู่ที่ 7 บ้านโนนจานเก่า จังหวัด อุบลราชธานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 7 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพแบบบูรณาการ หมู่ที่ 7 บ้านโนนจานเก่า ”
ศาลาประชาคม หมู่ที่ 7 บ้านโนนจานเก่า ตำบลท่าไห อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี
หัวหน้าโครงการ
กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 7
กันยายน 2561
ที่อยู่ ศาลาประชาคม หมู่ที่ 7 บ้านโนนจานเก่า ตำบลท่าไห อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัด อุบลราชธานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพแบบบูรณาการ หมู่ที่ 7 บ้านโนนจานเก่า จังหวัดอุบลราชธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศาลาประชาคม หมู่ที่ 7 บ้านโนนจานเก่า ตำบลท่าไห อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าไห ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพแบบบูรณาการ หมู่ที่ 7 บ้านโนนจานเก่า
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพแบบบูรณาการ หมู่ที่ 7 บ้านโนนจานเก่า " ดำเนินการในพื้นที่ ศาลาประชาคม หมู่ที่ 7 บ้านโนนจานเก่า ตำบลท่าไห อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าไห เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพที่ดีเป็นสิ่งที่ทุกคนพึงปรารถนา การมีสุขภาพที่ดีมิได้หมายถึงเพียงการมีหลักประกันในการเข้าถึงบริการสุขภาพเท่านั้น ต้องขึ้นอยู่กับประชาชนรู้จักการดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อให้มีสุขภาพที่แข็งแรงอยู่เสมอ เพราะโรคบางโรคสามารถป้องกันได้ด้วยการออกกำลังกายดีกว่าการรอให้เกิดการเจ็บป่วยแล้วรักษา จะทำให้สิ้นเปลืองทรัพยากรและงบประมาณในการดูแลรักษาจำนวนมาก การที่คนเรามีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันโรคที่ดี ดังนั้นประชาชนจึงควรมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้ตนเองมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและลดปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคต่าง ๆ ตามมา เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคอ้วน โรคมะเร็ง ความเครียด ฯลฯ
ดังนั้น กลุ่มอาสาสมัครหมู่บ้าน และผู้นำชุมชน บ้านโนนจานเก่า หมู่ที่ 7 ตำบลท่าไห ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นของการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคด้วยการออกกำลังกายแบบบูรณาการ เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญในการออกกำลังกายและเป็นการปลูกฝังค่านิยมที่ดีให้แก่ประชาชนในเรื่องพฤติกรรมการออกกำลังกาย ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์แล้วยังช่วยเสริมสร้างให้ร่างกาย แข็งแรง ผ่อนคลายอารมณ์ เสริมสร้างความสามัคคีและที่สำคัญการออกกำลังกายยังลดความเสี่ยงต่อการ เกิดโรคดังกล่าว จึงได้จัด โครงการ ส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพแบบบูรณาการ ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
- เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การสร้างแกนนำ
- การดำเนินการโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 30 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่เพิ่มมากขึ้น
- ประชาชนมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น
- ประชาชนออกกำลังกายในชุมชนเพิ่มมากขึ้น 4. ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย |
||
วันที่ 1 เมษายน 2561กิจกรรมที่ทำ3.1 ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย เช่น การปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้ การจักรสานในชุมชน การสัญจรโดยการเดิน ปั่นจักรยาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
2. การสร้างแกนนำ |
||
วันที่ 9 เมษายน 2561กิจกรรมที่ทำ1.1 ประชุมชี้แจงโครงการฯ แก่คณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดเนื้อหา กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ การพิจารณากลุ่มเป้าหมาย และชี้แจงวัตถุประสงค์ของการดำเนินงาน
1.2 ประสานกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วมกิจกรรม ได้แก่ ประชาชนกลุ่มวัยทำงาน ผู้นำชุมชน อสม. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
3. การดำเนินการโครงการ |
||
วันที่ 19 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ2.1 ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมอบรม
2.2 อบรมประชาชนกลุ่มเป้าหมาย โดยให้ความรู้ / อภิปราย / สาธิต / ฝีกปฏิบัติ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.มีผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100 2.
|
50 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์) |
30.00 | 60.00 |
|
|
2 | เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์) |
30.00 | 60.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ (2) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (2) การสร้างแกนนำ (3) การดำเนินการโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพแบบบูรณาการ หมู่ที่ 7 บ้านโนนจานเก่า จังหวัด อุบลราชธานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 7 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......