กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ”
ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางราตรี แก้วกูล




ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง

ที่อยู่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1523-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2561 ถึง 30 มิถุนายน 2562

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L1523-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2561 - 30 มิถุนายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,507.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข  ได้ไห้ความสำคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกคนภาคส่วนในสังคมในการพัฒนาประเทศด้านต่างๆ โดยเฉพาะด้านการเสริมสร้างสุขภาวะให้คนไทยมีสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจ สามารถดูแลตนเองได้โดยมุ่งเน้นการพัฒนาทุนสังคม และภูมิปัญญาชุมชน ตลอดจนการมีส่วนร่วมของ โดยได้กำหนดตัวชี้วัดของโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ แต่ในปัจจุบันพบว่าโรคดังกล่าวเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญระดับประเทศ ซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรงขึ้น โดยสาเหตุจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม การเคลื่อนไหวทางกายน้อย การบริโภคยาสูบ การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในปริมาณที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ รวมถึงภาวะเครียด ซึ่งหากไม่สามารถหยุดพฤติกรรมดังกล่าวจะส่งผลให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรควิถีชีวิต พิการ และเสียชีวิตตามมา นอกจากนี้ ยังสร้างภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาและก่อให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจตามมาอย่างมหาศาล      สถานการณ์โรคเรื้อรังในพื้นที่หมู่ที่ ๓-๖ ตำบลนาเมืองเพชร ปี ๒๕๕9-2561 มีผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน ๘๗ , 109 และ ๑20 คน อัตรา 3,409 , 4,234 และ 4,694 ต่อแสนตามลำดับ ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง จำนวน ๑66 , 219 และ ๒68 คน อัตรา 6,504 , 8,508 และ 10,485 ต่อแสนตามลำดับ ซึ่งพบว่าแนวโน้มการเกิดโรคเพิ่มมากขึ้นทุกปี
      จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาเมืองเพชร เล็งเห็นถึงแนวโน้มการเกิดผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่เพิ่มขึ้น จึงได้จัดทำโครงการ โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง เพื่อให้เกิดทักษะในการดูแล และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองครอบครัวและชุมชน เตรียมความพร้อมการรู้จักการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมสุขภาพที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคในอนาคต เกิดพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและสามารถลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรังเพิ่มได้ในระยะยาว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. (๑) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูงเพื่อค้นหาความเสี่ยงในระยะเริ่มต้น
  2. (๒) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเกิดการเรียนรู้ มีศักยภาพและทักษะที่เหมาะสมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคและป้องกันภาวะแทรกซ้อน (3) เพื่อสร้างเครือข่ายสุขภาพการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ ๑. ตรวจคัดกรองสุขภาพและประเมินสภาวะสุขภาพในประชาชนกลุ่มเสี่ยง
  2. กิจกรรมที่ ๒.อบรมความรู้ทักษะ/การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่แกนนำเครือข่ายสุขภาพ/กลุ่มเสี่ยงสูง จำนวน 65 คน
  3. กิจกรรมที่ ๓. อบรมแลกเปลี่ยนประสบการณ์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สรรหาบุคคลสุขภาพตัวอย่างพร้อมติดตามเยี่ยมกลุ่มเสี่ยงสูง จำนวน 35 คนโดยภาคีเครือข่าย จำนวน ๒ ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชากรกลุ่มเสี่ยงตระหนักและเห็นความสำคัญต่อการเกิดโรคเรื้อรัง เกิดทักษะและการเรียนรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรควิถีชีวิต ลดการเกิดผู้ป่วยรายใหม่อันจะนำไปสู่การสร้างสุขภาพ มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 (๑) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูงเพื่อค้นหาความเสี่ยงในระยะเริ่มต้น
ตัวชี้วัด : (๑) ร้อยละ 95 ของกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองความเสี่ยงเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
1300.00

 

2 (๒) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเกิดการเรียนรู้ มีศักยภาพและทักษะที่เหมาะสมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคและป้องกันภาวะแทรกซ้อน (3) เพื่อสร้างเครือข่ายสุขภาพการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน
ตัวชี้วัด : (๒) อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ ในกลุ่มเสี่ยงไม่เกินร้อยละ 2.4
1300.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) (๑) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูงเพื่อค้นหาความเสี่ยงในระยะเริ่มต้น (2) (๒) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเกิดการเรียนรู้  มีศักยภาพและทักษะที่เหมาะสมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคและป้องกันภาวะแทรกซ้อน  (3) เพื่อสร้างเครือข่ายสุขภาพการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ ๑. ตรวจคัดกรองสุขภาพและประเมินสภาวะสุขภาพในประชาชนกลุ่มเสี่ยง (2) กิจกรรมที่ ๒.อบรมความรู้ทักษะ/การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่แกนนำเครือข่ายสุขภาพ/กลุ่มเสี่ยงสูง จำนวน 65 คน (3) กิจกรรมที่ ๓. อบรมแลกเปลี่ยนประสบการณ์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สรรหาบุคคลสุขภาพตัวอย่างพร้อมติดตามเยี่ยมกลุ่มเสี่ยงสูง จำนวน 35 คนโดยภาคีเครือข่าย จำนวน ๒ ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1523-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางราตรี แก้วกูล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด