กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลห้วยเรือ


“ โครงการสร้างสุขภาพด้วยการออกกำลังกาย ”

รพ.สต.กุดกะเสียน

หัวหน้าโครงการ
รพ.สต.กุดกะเสียน

ชื่อโครงการ โครงการสร้างสุขภาพด้วยการออกกำลังกาย

ที่อยู่ รพ.สต.กุดกะเสียน จังหวัด อุบลราชธานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างสุขภาพด้วยการออกกำลังกาย จังหวัดอุบลราชธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน รพ.สต.กุดกะเสียน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลห้วยเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างสุขภาพด้วยการออกกำลังกาย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างสุขภาพด้วยการออกกำลังกาย " ดำเนินการในพื้นที่ รพ.สต.กุดกะเสียน รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2561 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลห้วยเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพ เป็นองค์ประกอบสำคัญของบุคคล ครอบครัว และชุมชน  เป็นผลที่เกิดขึ้นจากปฏิสัมพันธ์ของสิ่งแวดล้อม  ทั้งจากภาวะเศรษฐกิจ สังคม และการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่เป็นไปอย่างต่อเนื่อง หากบุคคลมีสุขภาพดีย่อมส่งผลให้สามารถกระทำกิจกรรมใดๆได้อย่างเต็มที่  สามารถให้การดูแลตนเอง ครอบครัว และชุมชนให้มีสุขภาพดีตามไปด้วย ทั้งนี้สุขภาพดี หมายถึง การมีสุขภาพจิตดี และสวัสดิภาพทางสังคมอยู่ในสภาวะที่เหมาะสม เมื่อชุมชนนั้นๆมีสมาชิกที่มีสุขภาพดีทั้งกาย จิต และสังคม  จะร่วมกันดุแลสิ่งแวดล้อมในชุมชนอย่างเต็มที่และเต็มใจ
ปัจจุบัน ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงไปมากทั้งความเจริญทางด้านเทคโนโลยี วัตถุ สังคม การเมืองและเศรษฐกิจรวมไปถึงลักษณะของประชากรและภาวะสุขภาพ มีการขยายตัวของประชากรสูง  การเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อเกิดขึ้นได้ง่าย  แต่วิทยาการทางการแพทย์สามารถให้การรักษาได้มากขึ้น  ปัจจุบันจึงเปลี่ยนเป็นสังคมผู้สูงอายุและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ซึ่งการเจ็บป่วยย่อมส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตและภาวะสุขภาพในระยะยาว  การเจ็บป่วยด้วยโรคเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อ โภชนาการและเมตาบอลิซึม ( รวมเบาหวาน ) ในชุมชนเพิ่มมากขึ้น แสดงให้เห็นว่าการเจ็บป่วยเป็นผลสืบเนื่องจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม เช่น ชอบบริโภคอาหารฟาดฟูดมีแป้งและไขมันสูง  ขาดการออกกำลังกาย มีการใช้บุหรี่ สุราและสารเสพติด การทำงานแบบนั่งโต๊ะมีเคลื่อนไหวร่างกายน้อย มีภาวะเครียด เป็นต้น จากปัญหาสุขภาพดังกล่าว แกนนำชุมชนและ อสม.บ้านกุดกะเสียน จึงได้มีการปรับเปลี่ยนแนวคิดใหม่ในการแก้ไขปัญหา แทนการมุ่งเน้นการรักษาพยาบาลที่ไม่สามารถลดปัญหาได้ โดยใช้แนวคิด การส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion ) โดยมุ่งเน้นให้ประชาชนสามารถควบคุมและปรับปรุงสุขภาพของตนเอง รวมทั้งเข้าถึงบริการสุขภาพอย่างเสมอภาคและเป็นธรรม เป็นต้นแบบด้านสุขภาพ  จึงได้จัดทำ ” โครงการสร้างสุขภาพด้วยการออกกำลังกาย ” ขึ้น โดยการจัดกิจกรรมออกกำลังกายเร่งสลายไขมันรอบพุง  มุ่งปรับปรุงพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ
  2. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
  3. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ
  4. เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงและคัดเลือกแกนนำ
  2. อบรมแกนนำและออกกำลังกายในชุมชน
  3. จัดกิจกรรมออกกำลังกายสัปดาห์ละ 3 วัน/สัปดาห์
  4. ติดตามประเมินผลและเยี่ยมกลุ่มออกกำลังกายในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ 2.เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ 3.เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ 4.เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมชี้แจงและคัดเลือกแกนนำ

วันที่ 7 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมชี้แจงโครงการเครือข่ายชุมชน 2.คัดเลือกแกนนำออกกำลังกาย 3.วางแผนการอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้แกนนำออกกำลังกาย

 

10 0

2. อบรมแกนนำและออกกำลังกายในชุมชน

วันที่ 10 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.อบรมให้ความรู้ด้านอาหาร 2.การออกำลังกายที่เหมาะสมตามกลุ่มวัย 3.ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.แกนนำมีความรู้ด้านอาหาร 2.แกนนำสามารถสามารถเลือกรูปแบบการออกกำลังกายที่เหมาะสมตามกลุ่มวัย 3.แกนนำสามารถนำปฏิบัติการออกกำลังกายในชุมชนได้

 

60 0

3. จัดกิจกรรมออกกำลังกายสัปดาห์ละ 3 วัน/สัปดาห์

วันที่ 10 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ออกกำลังกายโดยการเต้นแอโรบิกสัปดาห์ละ  3 ครั้ง 2.แกนนำติดตามผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ชุมชนมีการออกกำลังกายโดยการเต้นแอโรบิกสัปดาห์ละ  3 ครั้ง 2.ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้มีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม

 

60 0

4. ติดตามประเมินผลและเยี่ยมกลุ่มออกกำลังกายในชุมชน

วันที่ 31 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามประเมินผลของกลุ่มเป้าหมายในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีข้อมูลของกลุ่มเป้าหมายในชุมชน

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ บริโภคอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น
70.00 80.00

 

2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
30.00 50.00

 

3 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
20.00 50.00

 

4 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
20.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ  (2) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ (3) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ (4) เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงและคัดเลือกแกนนำ (2) อบรมแกนนำและออกกำลังกายในชุมชน (3) จัดกิจกรรมออกกำลังกายสัปดาห์ละ 3 วัน/สัปดาห์ (4) ติดตามประเมินผลและเยี่ยมกลุ่มออกกำลังกายในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างสุขภาพด้วยการออกกำลังกาย จังหวัด อุบลราชธานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( รพ.สต.กุดกะเสียน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด