กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี


“ โครงการพ่อแม่ใส่ใจเลี้ยงลูกดีมีคุณภาพด้วยสายใยรักสายใยสู่สวรรค์ (แม่ลูกสุขภาพดี) ”

ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
น.ส.รอฮีม๊ะ กาซอ

ชื่อโครงการ โครงการพ่อแม่ใส่ใจเลี้ยงลูกดีมีคุณภาพด้วยสายใยรักสายใยสู่สวรรค์ (แม่ลูกสุขภาพดี)

ที่อยู่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-L3070-1-6 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพ่อแม่ใส่ใจเลี้ยงลูกดีมีคุณภาพด้วยสายใยรักสายใยสู่สวรรค์ (แม่ลูกสุขภาพดี) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพ่อแม่ใส่ใจเลี้ยงลูกดีมีคุณภาพด้วยสายใยรักสายใยสู่สวรรค์ (แม่ลูกสุขภาพดี)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพ่อแม่ใส่ใจเลี้ยงลูกดีมีคุณภาพด้วยสายใยรักสายใยสู่สวรรค์ (แม่ลูกสุขภาพดี) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3070-1-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การแก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็กในพื้นที่ มีการดำเนินงานต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2548-ปี2554 เพื่อพัฒนาระบบการดูแลก่อนคลอดและหลังคลอด ที่ได้มาตรฐานตั้งแต่ตั้งครรภ์ถึงหลังคลอดและตามความต้องการของผู้รับบริการ ในปี 2550 ได้มีการพัฒนานวัตกรรมการบูรณาการการดูแลแม่และเด็กแบบครบวงจรในบริบทพื้นที่มุสลิมดูแลแม่และเด็ก ก่อนคลอด คลอดและหลังคลอดในชุมชนด้วยใจโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นผสมผสานการแพทย์แผนปัจจุบันและภูมิปัญญาท้องถิ่น สอดคล้องกับประเพณีวัฒนธรรมและบริบทของพื้นที่ที่ส่วนใหญ่เป็นมุสลิม พัฒนาหญิงมีครรภ์และครอบครัวตามหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่ของกรมอนามัย ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและบุตรในเชิงบวกแม่และเด็กมีสุขภาพดีครอบครัวและชุมชนให้ความร่วมมือผู้รับบริการพึงพอใจ ปรับบทบาทความสัมพันธ์ใหม่ในการดำเนินงานร่วมกับผดบ. ดำรงไว้ซึ่งความมีคุณค่าและศักดิ์ศรีของ ผดบสร้างอาชีพและรายได้ปรับเปลี่ยนบทบาทจากการทำคลอดมาดูแลสุขภาพอนามัยแม่และเด็กร่วมกับเจ้าหน้าที่อย่างเต็มภาคภูมิ ถ่ายทอดองค์ความรู้ที่ดีสู่การปฏิบัติร่วมกัน ให้บริการฝากครรภ์แบบคู่ขนาน พัฒนาระบบงานเชิงรับโดยการพัฒนาคลินิกบริการฝากครรภ์หลังคลอดที่เป็น one stop service ผู้รับบริการพึงพอใจลดภาวะเสี่ยงต่อการเดินทางหรือภาระความยุ่งยากต่างๆของหญิงมีครรภ์ พัฒนาระบบงานเชิงรุกจัดตั้งทีมงานเครือข่ายสร้างสุขภาพระดับพื้นที่ประกอบไปด้วย ผดบ,อสม., จนท.และครอบครัวหญิงมีครรภ์ มีบทบาทในการติดตามดูแลหญิงมีครรภ์ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ ก่อนคลอดและคลอดและหลังคลอดที่บ้าน มี packet การดูแล 40 วัน หลังคลอด(gift setนวดหลังคลอด 3 วัน บริการสมุนไพรหลังคลอดโดบ ผดบ.จัดทำบัตรทองให้ถึงบ้าน ที่ปรึกษาด้านสุขภาพ) ให้สำหรับหญิงมีครรภ์ที่ฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์ คลอดโรงพยาบาลสนับสนุนการอยู่ไฟหลังคลอดที่สะอาดสอดคล้องกับประเพณีวัฒนธรรมและบริบทของพื้นที่ โดยเครือข่ายแม่และเด็กร่วมกับสถานบริการ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเน้นการดูแลซึ่งกันและกันแบบพึ่งตนเองของประชาชนพัฒนาระบบการส่งต่อข้อมูลโดยใช้โทรศัพท์ เพื่อความปลอดภัยและสะดวกท่ามกลางสถานการณ์ความไม่ปลอดภัยมีทีมงานเครือข่ายที่ติดตามดูแลหญิงมีครรภ์เชิงรุกในชุมชนหญิงมีครรภ์ในพื้นที่ ร้อยละ 93มีการปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ดีขึ้นมากครอบครัวและชุมชนให้ความร่วมมือในการติดตามหญิงมีครรภ์เพิ่มมากขึ้นวัดได้จาก ผลการดำเนินงานปี 52-54มีแนวโน้มดีขึ้นมากEarly ANC ร้อยละ 72.15, 80.65และ79.92ฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์มากกว่าร้อยละ 91.89, 96.771และ 95การคลอดโรงพยาบาล ร้อยละ 90.54, 90.32 และ 95.00 ทารกคลอดน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 6.94, 6.45และ 8.33 ความพึงพอใจการให้บริการถึงร้อยละ 94, 96 และ ปี 50 ร้อยละ 96มีระบบการส่งต่อข้อมูลที่รวดเร็วโดยการใช้โทรศัพท์ แจ้งการคลอดหรือปรึกษาด้านอนามัยแม่และเด็ก เพื่อวางแผนการดูแลก่อนคลอดหลังคลอดตามระบบ สร้างกติกาข้อตกลงของชุมชน ในการดูแลหญิงมีครรภ์ที่ทำงานนอกพื้นที่ในปี 50 หญิงมีครรภ์รายใหม่เพิ่มมากขึ้น ร้อยละ 30.37 (จากปี49 =79 ราย ปี 50 =103 ราย) ไม่มีแม่ตาย ไม่มีทารกตายในปีนี้ ไม่มีหญิงมีครรภ์ที่ไม่ฝาก แต่ประเด็นปัญหาที่ต้องเฝ้าระวังต่อก็คือภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์13.92,6.45และ10.58 มีแนวโน้มลดลงจากการพัฒนารูปแบบการเฝ้าระวังโดยการตรวจความเข้มข้นเลือด(Hct) ทุกครั้งที่มาฝากครรภ์ตั้งแต่ตั้งครรภ์จนคลอด และปัญหาพฤติกรรมหลังคลอดอีกหลายอย่างเช่น การเลี้ยงดูทารกด้วยนมแม่ 6 เดือนขึ้นไปที่มีเพียงร้อยละ 12.41 การให้อาหารเสริมในทารกก่อน 6 เดือน ร้อยละ80 การตรวจหลังคลอดร้อยละ 37.5การวางแผนครอบครัวหลังคลอด 6 สัปดาห์ร้อยละ 62 เป็นต้น จึงได้มีการวิเคราะห์ข้อมูลและร่วมกับชุมชนหาแนวทางแก้ไขปัญหาและรูปแบบในการปรับพฤติกรรมการดูแลแม่และเด็กต่อไป ซึ่งรพสต.ยาบีร่วมกับเครือข่ายแม่และเด็กมีความตั้งใจเป็นอย่างยิ่งที่พัฒนาปัญหางานอนามัยแม่และเด็กต่อไปให้ครอบคลุมมากขึ้นโดยมีความต้องการที่จะแก้ไขปัญหาในเรื่องซีดการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โดยมีแผนมุ่งเน้นไปถึงกลุ่มภาคียุทธศาสตร์หลักคือ สามี พ่อแม่ หรือผู้ดูแลหญิงมีครรภ์ ให้มีความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติตัวของหญิงตั้งครรภ์ ช่วยสนับสนุนพ่อแม่หรือหญิงมีครรภ์ให้มีคุณภาพในอนาคตให้มีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเอง พฤติกรรมบริโภค ความรู้เรื่องการวางแผนชีวิตครอบครัวในอนาคต โดยเฉพาะความรู้ด้านอนามัยแม่และเด็กให้สามารถเข้าถึงระบบบริการที่มีอยู่แล้วอย่างมีคุณภาพและเป็นการปฏิบัติที่สอดคล้องกับหลักศาสนาและบริบทและความต้องการของพื้นที่ จึงได้จัด โครงการนี้ขึ้นมาเพื่อช่วยในการการปรับเปลี่ยนพฤติกรมสร้างความเข้าใจในการป้องกันภาวะซีด การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การให้อาหารเสริม การส่งเสริมพัฒนา สู่กลุ่มเพื่อน พ่อแม่ ญาติพี่น้อง และคนรุ่นหลังต่อไป สามารถดำเนินงานเชื่อมต่อกับเครือข่ายแม่และเด็ก เครือข่าย ผดบ. เครือข่ายสร้างสุขภาพ และเครือข่ายอื่นๆในชุมชนในงานอนามัยแม่และเด็กหรืออื่นๆ ที่มีการพัฒนาระบบบริการหารูปแบบการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในหญิงมีครรภ์ที่มารับบริการในชุมชน และเพื่อพัฒนาคลินิกบริการให้มีคุณภาพส่งเสริมการดูแลที่ต่อเนื่องในรายมีปัญหาซีดและการเสริมสายใยรักในครอบครัว โดยการประเมินติดตามและส่งเสริมการดูแลเด็ก0-5 ปี ให้ได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพทั้งร่างกายและจิตใจแบบองค์รวมและผสมผสาน ตอบสนองความต้องการของประชาชน และแก้ปัญหางานอนามัยอย่างแท้จริง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบริการงานอนามัยแม่และเด็กในสถานบริการเครือข่ายครอบครัวและ ชุมชนโดยการพัฒนาภาคเครือข่ายในชุมชน
  2. 2.เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และระบบบริการงานอนามัยแม่และเด็กที่มีมาตรฐานและต่อเนื่อง
  3. 3.พัฒนาภาคียุทธศาสตร์ที่มีอิทธิพลต่อการดู แม่และเด็ก0-5 ปีในชุมชน
  4. 4.ส่งเสริมการดูแลตนเองของหญิงมีครรภ์และทารกที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 80
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.แม่และเด็กตำบลยาบีมีสุขภาพดีไม่มีแม่ตาย ทารกตายในพื้นที่ 2.ส่งเสริมให้ภาคียุทธศาสตร์ สามีหรือครอบครัวหญิงมีครรภ์ตำบลยาบีมีความรู้ความเข้าใจการดูแลสุขภาพแม่และเด็กที่ถูกต้องการเตรียมตัวเป็นพ่อแม่ที่ดี ตามหลักศาสนาอิสลามโดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง 3.ทำให้ประชาชนและหญิงตั้งครรภ์ในตำบลยาบีมีการเชื่อมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านอนามัยแม่และเด็กทั้งในระดับปัจเจกบุคคล ระดับหมู่บ้าน ระดับตำบล ซึ่งจะทำให้ประชาชนและทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการดำเนินงานด้านสุขภาพมากขึ้น เกิดเครือด้านอนามัยแม่และเด็กในชุมชน“พ่อแม่มือใส่ใจเลี้ยงลูกดีมีคุณภาพตำบลยาบี”เป็นพ่อแม่ตายายที่มีคุณภาพ “สอนลูกบอกหลาน” ในการถ่ายทอดความรู้สู่คนรุ่นต่อไปได้ 4.พัฒนารูปแบบการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางและรูปแบบการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ตำบลยาบีของหญิงมีครรภ์โดยเครือข่าย,อาสาสมัคร,ชุมชนและหน่วยบริการสุขภาพในพื้นที่ 5.ลดภาวะแทรกซ้อนก่อนคลอด ระหว่างคลอดและหลังคลอดแม่ลูกสุขภาพดี 6.ได้องค์ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของชุมชนมุสลิม


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบริการงานอนามัยแม่และเด็กในสถานบริการเครือข่ายครอบครัวและ ชุมชนโดยการพัฒนาภาคเครือข่ายในชุมชน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2.เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และระบบบริการงานอนามัยแม่และเด็กที่มีมาตรฐานและต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3.พัฒนาภาคียุทธศาสตร์ที่มีอิทธิพลต่อการดู แม่และเด็ก0-5 ปีในชุมชน
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4.ส่งเสริมการดูแลตนเองของหญิงมีครรภ์และทารกที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 80
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบริการงานอนามัยแม่และเด็กในสถานบริการเครือข่ายครอบครัวและ ชุมชนโดยการพัฒนาภาคเครือข่ายในชุมชน (2) 2.เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และระบบบริการงานอนามัยแม่และเด็กที่มีมาตรฐานและต่อเนื่อง (3) 3.พัฒนาภาคียุทธศาสตร์ที่มีอิทธิพลต่อการดู แม่และเด็ก0-5 ปีในชุมชน (4) 4.ส่งเสริมการดูแลตนเองของหญิงมีครรภ์และทารกที่ถูกต้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพ่อแม่ใส่ใจเลี้ยงลูกดีมีคุณภาพด้วยสายใยรักสายใยสู่สวรรค์ (แม่ลูกสุขภาพดี) จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 60-L3070-1-6

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( น.ส.รอฮีม๊ะ กาซอ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด