กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม


“ บวร รวมใจ สร้าง จิตอาสาวัยใส ใส่ใจผู้สูงอายุบ้านท่าข้ามปี 4 ”

ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ บวร รวมใจ สร้าง จิตอาสาวัยใส ใส่ใจผู้สูงอายุบ้านท่าข้ามปี 4

ที่อยู่ ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"บวร รวมใจ สร้าง จิตอาสาวัยใส ใส่ใจผู้สูงอายุบ้านท่าข้ามปี 4 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
บวร รวมใจ สร้าง จิตอาสาวัยใส ใส่ใจผู้สูงอายุบ้านท่าข้ามปี 4



บทคัดย่อ

โครงการ " บวร รวมใจ สร้าง จิตอาสาวัยใส ใส่ใจผู้สูงอายุบ้านท่าข้ามปี 4 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้สูงอายุ หมายถึง ประชากรทั้งเพศชายและหญิงที่มีอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป ซึ่งสามารถแบ่งระดับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเป็น3 ระดับ ได้แก่ 1) ระดับการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging society) หมายถึง สังคมหรือประเทศที่มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ หรือมีประชากรอายุตั้งแต่ 65 ปี มากกว่าร้อยละ 7 ของประชากรทั้งประเทศ แสดงว่าประเทศนั้นกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ 2) ระดับสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged society) หมายถึง สังคมหรือประเทศที่มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 20 ของประชากรทั้งประเทศ หรือมีประชากรอายุตั้งแต่ 65 ปี มากกว่าร้อยละ14 ของประชากรทั้งประเทศ แสดงว่าประเทศนั้นเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ 3) ระดับสังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มที่ (Super-aged society) หมายถึง สังคมหรือประเทศที่มีประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 20 ของประชากรทั้งประเทศ แสดงว่าประเทศนั้นเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มที่ (สำนักข่าว Hfocus เจาะลึกระบบสุขภาพ, 2015) สังคมสูงอายุเป็นสถานการณ์ที่โลกและหลายประเทศกำลังเผชิญซึ่งขณะนี้ประชากรโลกได้กลายเป็นสังคมผู้สูงอายุแล้วโดยมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปจำนวน 901 ล้านคนหรือคิดเป็นร้อยละ 12 ของประชากรทั้งหมดภูมิภาคอาเซียนมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปจำนวน 55 ล้านคนหรือคิดเป็นร้อยละ 9ส่วนในประเทศไทยมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปร้อยละ 16 ซึ่งถือเป็นอันดับที่ 2 ของกลุ่มอาเซียนโดยไทยได้เข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุ (Aging society) มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 กล่าวคือ 1 ใน 10 ของประชากรไทย เป็นประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปและคาดว่าประเทศไทยจะเป็น “สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์” (Aged society) ในปี พ.ศ. 2564 และเป็น “สังคมสูงวัยระดับสุดยอด” (Super Aged Society) ภายในปี พ.ศ. 2578 โดยประมาณการว่าจะมีประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 30 ของจำนวนประชากรทั้งหมดซึ่งถือว่าเป็นการเปลี่ยนระดับที่รวดเร็วมากเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ (อนันต์, 2560) สืบเนื่องจากนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ประจำปีการศึกษา 2558 ได้ริเริ่มจัดทำโครงการ “บวร” รวมใจสร้าง “จิตอาสาวัยใส ใส่ใจผู้สูงอายุ” บ้านท่าข้าม (ปีที่ 1) ขึ้น ซึ่งเป็นโครงการที่ส่งเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุแบบองค์รวมทั้งด้านกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ โดยการส่งเสริมให้นักเรียนโรงเรียนวัดท่าข้ามได้มีส่วนร่วมในการดูแลและเห็นคุณค่าของผู้สูงอายุ สร้างจิตสำนึกและปลูกฝังให้เกิดทัศนคติที่ดี มีการเชิญพระคุณเจ้าจากวัดท่าข้ามมานำสวดเจริญพรเพื่อเสริมสร้างความสงบ สร้างสมาธิแก่ผู้สูงอายุและผู้เข้าร่วมโครงการ มีการดูแลช่วยเหลือและติดตามภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุร่วมกับผู้นำชุมชนซึ่งเป็นตัวแทนประชาชนสอดคล้องตามแนวคิด “บวร” ที่เป็นความร่วมแรงร่วมใจกันระหว่างบ้าน วัด โรงเรียนโดยได้รับการตอบรับที่ดีจากประชาชนในชุมชนส่งผลให้มีการจัดโครงการสืบเนื่องมาตลอดในปีการศึกษา 2559 และ 2560 และในปีการศึกษา 2561 จากการทำประชาคมร่วมกับชุมชน ทางชุมชนมีความประสงค์ให้จัดโครงการอย่างต่อเนื่อง และทางโรงเรียนวัดท่าข้ามมีความสนใจและสนับสนุนให้นักเรียนเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุ ประกอบกับจากการสำรวจข้อมูลในชุมชน พบว่ายังมีผู้สูงอายุจำนวนหนึ่งที่ยังขาดการดูแลอย่างทั่วถึง ทางคณะนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ปีการศึกษา 2561 จึงเล็งเห็นว่าปัญหาการดูแลผู้สูงอายุเป็นสิ่งที่ควรตระหนักและให้ความใส่ใจอย่างต่อเนื่อง จึงจัดทำโครงการ “บวร”รวมใจสร้าง “จิตอาสาวัยใส ใส่ใจผู้สูงอายุ” บ้านท่าข้ามปี 4 โดยทางโรงเรียนวัดท่าข้ามได้มุ่งเน้นการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการตามนโยบายของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ให้กับเยาวชนโดยเฉพาะความกตัญญูรู้คุณและส่งเสริมให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการใช้ศักยภาพของตนเองในการดูแลและไปเยี่ยมผู้สูงอายุที่บ้าน ร่วมกับนักศึกษาพยาบาลและสนับสนุนให้มีการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ทำให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลอย่างแท้จริง ช่วยลดช่องว่างระหว่างวัย และเสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อกันระหว่างผู้สูงอายุกับนักเรียนมากยิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.สร้างจิตอาสา (จิตอาสา + อสม.) (โรงเรียนวัดท่าข้าม)
  2. 2.ส่งเสริมจิตอาสาวัยใส (คณะพยาบาลศาสตร์ร่วมกับโรงเรียนวัดท่าข้าม)
  3. 2.1 กิจกรรม “นวดผ่อนคลาย สบายจังเลย”
  4. 2.2 กิจกรรม “ขยับกาย สบายชีวี ดูดีสมวัย”
  5. 2.3 กิจกรรม “อ่านอย่างเบิกบาน สำราญเพื่อสุขภาพ”
  6. 3. มหกรรมสุขภาพ (คณะพยาบาลศาสตร์ร่วมกับชุมชน)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนจิตอาสามีความรู้เรื่องการนวดผ่อนคลาย และสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับผู้สูงอายุรายเยี่ยมได้ถูกต้อง เหมาะสม
  2. นักเรียนจิตอาสามีความรู้เรื่องการยกพยุงผู้ป่วยติดเตียง การออกกำลังกายแบบ Active exercise (สำหรับผู้สูงอายุติดบ้าน) และแบบ Passive exercise (สำหรับผู้ป่วยติดเตียง) และสามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
  3. ส่งเสริมการอ่านให้กับนักเรียนจิตอาสา
  4. ผู้สูงอายุ/ผู้ดูแลที่เข้าร่วมโครงการอย่างน้อย 40 คนได้รับการประเมินสุขภาพเบื้องต้น
  5. ผู้สูงอายุ/ผู้ดูแลที่เข้าร่วมโครงการอย่างน้อย 40 คน สามารถนำความรู้ที่ได้รับ เกี่ยวกับ การรับประทานอาหารตามโรค การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ การใช้ยา การป้องกันการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ และสามารถประเมินภาวะโรคหลอดเลือดสมองในเบื้องต้น FAST track: stroke ได้ถูกต้อง
  6. สมาชิกในชุมชนให้ความสำคัญกับการดูแลใส่ใจผู้สูงอายุในชุมชนมากขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.สร้างจิตอาสา (จิตอาสา + อสม.)  (โรงเรียนวัดท่าข้าม) (2) 2.ส่งเสริมจิตอาสาวัยใส (คณะพยาบาลศาสตร์ร่วมกับโรงเรียนวัดท่าข้าม) (3) 2.1 กิจกรรม “นวดผ่อนคลาย สบายจังเลย” (4) 2.2 กิจกรรม “ขยับกาย สบายชีวี ดูดีสมวัย” (5) 2.3 กิจกรรม “อ่านอย่างเบิกบาน สำราญเพื่อสุขภาพ” (6) 3. มหกรรมสุขภาพ (คณะพยาบาลศาสตร์ร่วมกับชุมชน)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


บวร รวมใจ สร้าง จิตอาสาวัยใส ใส่ใจผู้สูงอายุบ้านท่าข้ามปี 4 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด