โครงการแม่บ้านร่วมใจ ใส่ใจโภชนาการในงานบุญ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการแม่บ้านร่วมใจ ใส่ใจโภชนาการในงานบุญ ”
ตำบลบ้านกลาง อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน
หัวหน้าโครงการ
นางโสภา ปันแจ้
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านกลาง
สิงหาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการแม่บ้านร่วมใจ ใส่ใจโภชนาการในงานบุญ
ที่อยู่ ตำบลบ้านกลาง อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน จังหวัด ลำพูน
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแม่บ้านร่วมใจ ใส่ใจโภชนาการในงานบุญ จังหวัดลำพูน" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านกลาง อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านกลาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแม่บ้านร่วมใจ ใส่ใจโภชนาการในงานบุญ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแม่บ้านร่วมใจ ใส่ใจโภชนาการในงานบุญ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านกลาง อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านกลาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามแนวคิดหลักของการพัฒนาสุขภาพ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้มุ่งเน้นการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพ ดังนั้นจึงมีการกำหนดยุทธศาสตร์ในการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ โดยมุ่งเน้นปัจจัยพื้นฐาน 4 ประการ ได้แก่ ด้านสุขภาพจิต การออกกำลังกาย การอนามัยสิ่งแวดล้อม และอาหารสะอาดปลอดภัย ซึ่งจะนำไปสู่สุขภาวะที่ดีด้วย ปัจจัยพื้นฐานด้านอาหารนับว่าเป็นสิ่งที่ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชน การจัดการอาหารที่ดี นอกจากจะคำนึงถึงรสชาติและยังต้องคำนึงถึงความปลอดภัยในอาหารเป็นสำคัญ อาหารมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพ เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ชีวิตดำรงอยู่ได้ แต่หากอาหารนั้นมีสารที่เป็นอันตรายปนเปื้อน หรือแม้แต่มีสารที่อนุญาตให้ใช้ในอาหารได้ แต่มีปริมาณที่มากกว่าที่กำหนดก็ย่อมให้เกิดพิษภัยกับผู้บริโภค ส่งผลต่อคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะค่านิยมในเรื่องของการเตรียมอาหารเพื่อจัดเลี้ยงในงานบุญประเพณีต่างๆ ที่หันมาใช้อาหารภาคกลางกันมากขึ้น ทำให้พฤติกรรมของคนในชุมชนเริ่มเปลี่ยนแปลง ประกอบกับปัจจุบันปัญหาสำคัญที่พบในอาหารสด มักจะมีสารปนเปื้อนอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเมื่อรับประทานเข้าไปแล้ว ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ อาจเกิดผลทั้งในระยะสั้นและระยะยาวหรืออาจถึงกับชีวิตได้ เพราะฉะนั้นการส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดีไม่เจ็บป่วย เป็นสิ่งที่รัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องให้การสนับสนุน ควบคุม ดูแล เฝ้าระวัง และป้องกันให้กับประชาชน เน้นให้ประชาชนได้บริโภคอาหารปลอดภัย มีคุณค่าอย่างทั่วถึง ครอบคลุมทุกพื้นที่
จากวิถีชีวิตของคนในชุมชน การรับประทานอาหารหรือการเลี้ยงอาหารในงานเลี้ยงต่างๆ ส่วนใหญ่จะเลี้ยงอาหารในงานเลี้ยงต่างๆ ส่วนใหญ่จะเลี้ยงด้วยลาบดิบอาหารที่สุกๆ ดิบๆ หรือไม่ได้ทำให้สุกด้วยความร้อน อีกทั้งแม่บ้าน พ่อบ้านจะปรุงอาหารตามรสชาติที่ชอบรับประทาน และส่วนใหญ่รสชาติจะเป็นแบบรสจัด เช่น รสหวาน มัน เค็ม หรือมีรสชาติที่เปรี้ยวจนเกินไป จึงทำให้ผู้รับประทานเสี่ยงกับหลายๆ โรค เช่น โรคอ้วน โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไขมันในเลือดสูง เป็นต้น ดังนั้น ผู้ประกอบอาหารควรตระหนักถึงความสำคัญของอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการในปริมาณและสัดส่วนที่เหมาะสม ปรุงจากวัตถุดิบที่สะอาด ปลอดภัยจากสารพิษ คือปรุงด้วยเนื้อที่มีไขมันต่ำ เช่น ปลา เป็นเนื้อสัตว์ที่ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน ปรุงด้วยผักปลอดสารพิษ มีรสชาติไม่หวานจัดหรือเค็มจัด เน้นการปรุง โดยการต้ม ปิ้ง นึ่ง ย่าง ยำ เป็นต้น ถ้าเป็นประเภทผัดหรือแกงกะทิจะต้องใช้น้ำมันและกะทิแค่พอควร เป็นการประยุกต์หลักโภชนาการไปสู่ตำรับอาหาร และเป็นทางเลือกในการรับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
ดังนั้น กลุ่มพัฒนาสตรีตำบลบ้านกลาง จึงเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว เพื่อให้กลุ่มสตรีแม่บ้านตำบลบ้านกลาง มีความรู้ ความเข้าใจในการปรุงอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ถูกหลักโภชนาการและสุขาภิบาลอาหาร ลดการใช้สารปรุงแต่งต่างๆ ลง ลดหวาน มัน เค็ม จึงได้จัดทำโครงการแม่บ้านร่วมใจ ใส่ใจโภชนาการในงานบุญ ประจำปีงบประมาณ 2561 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ
- เพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน
- เพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน
- เพิ่มครัวเรือนที่มีการจัดเก็บพันธุ์ข้าว ผัก และมีการเพาะพันธุ์ปลา กุ้ง ปู ในชุมชน
- เพิ่มครัวเรือนที่มีการรับประทานอาหารร่วมกันอย่างน้อย 5 ครั้งต่อสัปดาห์
- เพิ่มพื้นที่ผลิตอาหาร (ข้าว ผัก ผลไม้)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มสตรีแม่บ้านมีความรู้ ความเข้าใจในการปรุงอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ถูกหลักโภชนาการและสุขาภิบาลอาหาร ลดการใช้สารปรุงแต่งต่างๆ ลง ลดหวาน มัน เค็ม
- งานบุญมีอาหารที่ปรุงสะอาด ปลอดภัย ถูกหลักโภชนาการและสุขาภิบาลอาหาร
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ บริโภคอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น
80.00
85.00
2
เพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน เพิ่มขึ้น
40.00
45.00
3
เพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม เพิ่มขึ้นเป็น
60.00
65.00
4
เพิ่มครัวเรือนที่มีการจัดเก็บพันธุ์ข้าว ผัก และมีการเพาะพันธุ์ปลา กุ้ง ปู ในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละครัวเรือนที่มีการจัดเก็บพันธุ์ข้าว ผัก และมีการเพาะพันธุ์ปลา กุ้ง ปู ในชุมชน
60.00
65.00
5
เพิ่มครัวเรือนที่มีการรับประทานอาหารร่วมกันอย่างน้อย 5 ครั้งต่อสัปดาห์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่มีการรับประทานอาหารร่วมกันอย่างน้อย 5 ครั้งต่อสัปดาห์
60.00
65.00
6
เพิ่มพื้นที่ผลิตอาหาร (ข้าว ผัก ผลไม้)
ตัวชี้วัด : ร้อยละพื้นที่ผลิตอาหาร (ข้าว ผัก ผลไม้) ต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมด
40.00
45.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ (2) เพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน (3) เพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน (4) เพิ่มครัวเรือนที่มีการจัดเก็บพันธุ์ข้าว ผัก และมีการเพาะพันธุ์ปลา กุ้ง ปู ในชุมชน (5) เพิ่มครัวเรือนที่มีการรับประทานอาหารร่วมกันอย่างน้อย 5 ครั้งต่อสัปดาห์ (6) เพิ่มพื้นที่ผลิตอาหาร (ข้าว ผัก ผลไม้)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการแม่บ้านร่วมใจ ใส่ใจโภชนาการในงานบุญ จังหวัด ลำพูน
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางโสภา ปันแจ้ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการแม่บ้านร่วมใจ ใส่ใจโภชนาการในงานบุญ ”
ตำบลบ้านกลาง อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน
หัวหน้าโครงการ
นางโสภา ปันแจ้
สิงหาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลบ้านกลาง อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน จังหวัด ลำพูน
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแม่บ้านร่วมใจ ใส่ใจโภชนาการในงานบุญ จังหวัดลำพูน" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านกลาง อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านกลาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแม่บ้านร่วมใจ ใส่ใจโภชนาการในงานบุญ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแม่บ้านร่วมใจ ใส่ใจโภชนาการในงานบุญ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านกลาง อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านกลาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามแนวคิดหลักของการพัฒนาสุขภาพ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้มุ่งเน้นการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพ ดังนั้นจึงมีการกำหนดยุทธศาสตร์ในการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ โดยมุ่งเน้นปัจจัยพื้นฐาน 4 ประการ ได้แก่ ด้านสุขภาพจิต การออกกำลังกาย การอนามัยสิ่งแวดล้อม และอาหารสะอาดปลอดภัย ซึ่งจะนำไปสู่สุขภาวะที่ดีด้วย ปัจจัยพื้นฐานด้านอาหารนับว่าเป็นสิ่งที่ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชน การจัดการอาหารที่ดี นอกจากจะคำนึงถึงรสชาติและยังต้องคำนึงถึงความปลอดภัยในอาหารเป็นสำคัญ อาหารมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพ เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ชีวิตดำรงอยู่ได้ แต่หากอาหารนั้นมีสารที่เป็นอันตรายปนเปื้อน หรือแม้แต่มีสารที่อนุญาตให้ใช้ในอาหารได้ แต่มีปริมาณที่มากกว่าที่กำหนดก็ย่อมให้เกิดพิษภัยกับผู้บริโภค ส่งผลต่อคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะค่านิยมในเรื่องของการเตรียมอาหารเพื่อจัดเลี้ยงในงานบุญประเพณีต่างๆ ที่หันมาใช้อาหารภาคกลางกันมากขึ้น ทำให้พฤติกรรมของคนในชุมชนเริ่มเปลี่ยนแปลง ประกอบกับปัจจุบันปัญหาสำคัญที่พบในอาหารสด มักจะมีสารปนเปื้อนอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเมื่อรับประทานเข้าไปแล้ว ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ อาจเกิดผลทั้งในระยะสั้นและระยะยาวหรืออาจถึงกับชีวิตได้ เพราะฉะนั้นการส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดีไม่เจ็บป่วย เป็นสิ่งที่รัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องให้การสนับสนุน ควบคุม ดูแล เฝ้าระวัง และป้องกันให้กับประชาชน เน้นให้ประชาชนได้บริโภคอาหารปลอดภัย มีคุณค่าอย่างทั่วถึง ครอบคลุมทุกพื้นที่ จากวิถีชีวิตของคนในชุมชน การรับประทานอาหารหรือการเลี้ยงอาหารในงานเลี้ยงต่างๆ ส่วนใหญ่จะเลี้ยงอาหารในงานเลี้ยงต่างๆ ส่วนใหญ่จะเลี้ยงด้วยลาบดิบอาหารที่สุกๆ ดิบๆ หรือไม่ได้ทำให้สุกด้วยความร้อน อีกทั้งแม่บ้าน พ่อบ้านจะปรุงอาหารตามรสชาติที่ชอบรับประทาน และส่วนใหญ่รสชาติจะเป็นแบบรสจัด เช่น รสหวาน มัน เค็ม หรือมีรสชาติที่เปรี้ยวจนเกินไป จึงทำให้ผู้รับประทานเสี่ยงกับหลายๆ โรค เช่น โรคอ้วน โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไขมันในเลือดสูง เป็นต้น ดังนั้น ผู้ประกอบอาหารควรตระหนักถึงความสำคัญของอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการในปริมาณและสัดส่วนที่เหมาะสม ปรุงจากวัตถุดิบที่สะอาด ปลอดภัยจากสารพิษ คือปรุงด้วยเนื้อที่มีไขมันต่ำ เช่น ปลา เป็นเนื้อสัตว์ที่ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน ปรุงด้วยผักปลอดสารพิษ มีรสชาติไม่หวานจัดหรือเค็มจัด เน้นการปรุง โดยการต้ม ปิ้ง นึ่ง ย่าง ยำ เป็นต้น ถ้าเป็นประเภทผัดหรือแกงกะทิจะต้องใช้น้ำมันและกะทิแค่พอควร เป็นการประยุกต์หลักโภชนาการไปสู่ตำรับอาหาร และเป็นทางเลือกในการรับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ ดังนั้น กลุ่มพัฒนาสตรีตำบลบ้านกลาง จึงเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว เพื่อให้กลุ่มสตรีแม่บ้านตำบลบ้านกลาง มีความรู้ ความเข้าใจในการปรุงอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ถูกหลักโภชนาการและสุขาภิบาลอาหาร ลดการใช้สารปรุงแต่งต่างๆ ลง ลดหวาน มัน เค็ม จึงได้จัดทำโครงการแม่บ้านร่วมใจ ใส่ใจโภชนาการในงานบุญ ประจำปีงบประมาณ 2561 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ
- เพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน
- เพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน
- เพิ่มครัวเรือนที่มีการจัดเก็บพันธุ์ข้าว ผัก และมีการเพาะพันธุ์ปลา กุ้ง ปู ในชุมชน
- เพิ่มครัวเรือนที่มีการรับประทานอาหารร่วมกันอย่างน้อย 5 ครั้งต่อสัปดาห์
- เพิ่มพื้นที่ผลิตอาหาร (ข้าว ผัก ผลไม้)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 120 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มสตรีแม่บ้านมีความรู้ ความเข้าใจในการปรุงอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ถูกหลักโภชนาการและสุขาภิบาลอาหาร ลดการใช้สารปรุงแต่งต่างๆ ลง ลดหวาน มัน เค็ม
- งานบุญมีอาหารที่ปรุงสะอาด ปลอดภัย ถูกหลักโภชนาการและสุขาภิบาลอาหาร
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ บริโภคอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น |
80.00 | 85.00 |
|
|
2 | เพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน ตัวชี้วัด : ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน เพิ่มขึ้น |
40.00 | 45.00 |
|
|
3 | เพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม เพิ่มขึ้นเป็น |
60.00 | 65.00 |
|
|
4 | เพิ่มครัวเรือนที่มีการจัดเก็บพันธุ์ข้าว ผัก และมีการเพาะพันธุ์ปลา กุ้ง ปู ในชุมชน ตัวชี้วัด : ร้อยละครัวเรือนที่มีการจัดเก็บพันธุ์ข้าว ผัก และมีการเพาะพันธุ์ปลา กุ้ง ปู ในชุมชน |
60.00 | 65.00 |
|
|
5 | เพิ่มครัวเรือนที่มีการรับประทานอาหารร่วมกันอย่างน้อย 5 ครั้งต่อสัปดาห์ ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่มีการรับประทานอาหารร่วมกันอย่างน้อย 5 ครั้งต่อสัปดาห์ |
60.00 | 65.00 |
|
|
6 | เพิ่มพื้นที่ผลิตอาหาร (ข้าว ผัก ผลไม้) ตัวชี้วัด : ร้อยละพื้นที่ผลิตอาหาร (ข้าว ผัก ผลไม้) ต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมด |
40.00 | 45.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 120 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ (2) เพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน (3) เพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน (4) เพิ่มครัวเรือนที่มีการจัดเก็บพันธุ์ข้าว ผัก และมีการเพาะพันธุ์ปลา กุ้ง ปู ในชุมชน (5) เพิ่มครัวเรือนที่มีการรับประทานอาหารร่วมกันอย่างน้อย 5 ครั้งต่อสัปดาห์ (6) เพิ่มพื้นที่ผลิตอาหาร (ข้าว ผัก ผลไม้)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการแม่บ้านร่วมใจ ใส่ใจโภชนาการในงานบุญ จังหวัด ลำพูน
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางโสภา ปันแจ้ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......