กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าชะมวง


“ โครงการอบรมให้ความรู้โรคทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ไม่พึ่งประสงค์ ปี 2560 ”

ตำบลท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลท่าชะมวง

ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้โรคทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ไม่พึ่งประสงค์ ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 15 มิถุนายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมให้ความรู้โรคทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ไม่พึ่งประสงค์ ปี 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้โรคทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ไม่พึ่งประสงค์ ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้โรคทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ไม่พึ่งประสงค์ ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 15 มิถุนายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,215.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งวัยรุ่นเป็นวัยที่ยังขาดความพร้อมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ เศรษฐกิจ วุฒิภาวะ ทำให้เกิดผลกระทบตามมาหลายด้าน เช่น การคลอดก่อนกำหนด ทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ การแท้งและภาวะแทรกซ้อน การออกจากโรงเรียนกลางคัน การทอดทิ้งเด็ก เป็นต้น จากสถิติการคลอดของแม่วัยรุ่นในประเทศไทย พบว่า วัยรุ่นอายุต่ำกว่า 20 ปี คลอดบุตรเพิ่มขึ้นจากประมาณ 90000 คน ในปี พ.ศ.2543 เป็น 104289 คน ในปี 2558 ในจำนวนนี้เป็นการคลอดบุตรโดยวัยรุ่นที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปี จำนวน 2988 คน นอกจากนั้นวัยรุ่นอายุ 10-19 ปี ที่คลอดบุตรซ้ำหรือคลอดบุตรเป็นครั้งที่สองขึ้นไปมีมากถึง 12702 คน หรือเท่ากับร้อยละ 12.2 ของการคลอดในวัยรุ่นอายุ 10-19 ปีทั้งหมด นอกจากนี้ ข้อมูลของสำนักเลขาธิการสภาการศึกษายังพบว่า อัตราการออกจากโรงเรียนกลางคันด้วยเหตุสมรสในกลุ่มนักเรียนประถมศึกษา ระหว่างปีการศึกษา 2548-2555 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 0.9 เป็น 2.7 โดยในกลุ่มนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นเพิ่มจากร้อยละ 5.1 เป็น 6.2 และกลุ่มนักเรียนชั้นมัธยมตอนปลายจากร้อยละ 4.2 เพิ่มเป็น 6.5 และสถานการณ์ของตำบลท่าชะมวงย้อนหลัง 3 ปี พบว่า ปี 2557 ประชากรวัยรุ่น ทั้งหมด 801 คนท้อง 25 คน ท้องไม่พร้อม 7 คน และอยู่ในสถานศึกษา 1 คน ปี 2558 วัยรุ่นทั้งหมด 777 คน ท้อง 34 คน ท้องไม่พร้อม 6 คน และอยู่ในสถานศึกษา 1 คน ปี 2559 จำนวนวัยรุ่นทั้งหมด 787 คน ท้อง 35 คน ท้องไม่พร้อม 5 คน และอยู่ในสถานศึกษา 1 คน (ข้อมูลจาก คลินิกส่งเสริมสุขภาพ โรงพยาบาลรัตภูมิ) ผนวกกับสถานการณ์ของยาเสพติดในปัจจุบัน มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น จากข้อมูลสำนักยุทธศาสตร์ สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดได้จัดทำสถานการณ์และแนวโน้มของปัญหายาเสพติด พ.ศ.2558-2560 พบว่า กลุ่มเยาวชน อายุ 15-19 ปี เนื่องจากพบว่ากลุ่มนี้มีพฤติกรรมเสี่ยงเรื่องการมีเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์สูงกว่ากลุ่มอื่นๆซึ่งพฤติกรรมเสี่ยงดังกล่าวเป็นปัจจัยหนึ่งที่เด็กมีโอกาสเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลท่าชะมวงประกอบกับอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลที่ได้กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล มาตรา 66 องค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจในการพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม มาตรา 67 (3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ (6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุและผู้พิการ จึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้โรคทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ปี 2560 เพื่อเป็นการกระตุ้น ป้องกัน และตระหนักให้กับกลุ่มนักเรียนซึ่งเป็นวัยที่มีความเสี่ยงต่อปัญหาดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้และตระหนักในปัญหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรและอันตรายจากยาเสพติด
  2. เพื่อลดปัญหาและผลกระทบจากปัญหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
  3. เพื่อให้มีคลินิกให้คำปรึกษาในสถานศึกษา
  4. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมกับหน่วยงานราชการในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 52
    กลุ่มวัยทำงาน 62
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ประสบการณ์ และตระหนักในปัญหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร สามารถลดปัญหาและผลกระทบจากปัญหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรด้วยความร่วมมือกับหน่วยงานราชการในพื้นที่


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้และตระหนักในปัญหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรและอันตรายจากยาเสพติด
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อลดปัญหาและผลกระทบจากปัญหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้มีคลินิกให้คำปรึกษาในสถานศึกษา
    ตัวชี้วัด :

     

    4 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมกับหน่วยงานราชการในพื้นที่
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 114
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 52
    กลุ่มวัยทำงาน 62
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้และตระหนักในปัญหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรและอันตรายจากยาเสพติด (2) เพื่อลดปัญหาและผลกระทบจากปัญหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร (3) เพื่อให้มีคลินิกให้คำปรึกษาในสถานศึกษา (4) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมกับหน่วยงานราชการในพื้นที่

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมให้ความรู้โรคทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ไม่พึ่งประสงค์ ปี 2560 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลท่าชะมวง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด