กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง


“ โครงการชุมชนสุขภาพดี ตามวิถีบ้านทุ่งโชน ”

ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
คณะกรรมการหมู่บ้านหมู่ที่7

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนสุขภาพดี ตามวิถีบ้านทุ่งโชน

ที่อยู่ ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤศจิกายน 2561 ถึง 23 พฤศจิกายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนสุขภาพดี ตามวิถีบ้านทุ่งโชน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนสุขภาพดี ตามวิถีบ้านทุ่งโชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนสุขภาพดี ตามวิถีบ้านทุ่งโชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤศจิกายน 2561 - 23 พฤศจิกายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,055.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สังคมปัจจุบันเป็นสังคมโลกาภิวัตน์ที่มีการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆทั้งสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม เป็นต้น ส่งผลให้พฤติกรรมและแบบแผนวิถีชีวิตเปลี่ยนแปลง ผลที่ตามมาคือสุขภาพของคนไทยที่เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ได้แก่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มะเร็ง หลอดเลือดและหัวใจ เป็นต้น มีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากพฤติกรรมเสี่ยง เช่น การดื่มเหล้า สูบบุหรี่ ขาดการออกกำลังกาย การรับประทานอาหารหวาน มัน เค็มจัด และความเครียด
องค์การอนามัยโลก (WHO, ๒๐๑๖) เล็งเห็นว่ากลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) เป็นปัญหาใหญ่ที่กำลังทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ จากสถิติผู้เสียชีวิตจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ พบว่าสาเหตุการเสียชีวิตของประชากรโลกที่เกิดจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังทั้งหมด ๗๐ % ของสาเหตุการเสียชีวิตทั้งหมด หรือประมาณ ๔๑ ล้านคน และกว่า ๘๐ % เป็นประชากรของประเทศที่กำลังพัฒนาซึ่งรวมถึงประเทศไทยด้วย จากรายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายในปี ๒๕๕๗ ของสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบการป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเพิ่มขึ้น ๑ ใน ๓ ของ ประชาชนไทยที่มีอายุตั้งแต่ ๑๕ ปีขึ้นไป ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ พบว่าในช่วง ๕ ปีที่ผ่านมา ความชุกของโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นคิดเป็นจำนวนประมาณ ๔.๘ ล้านคนหรือปีละประมาณ ๓๐๐,๐๐๐ คน ความชุกของความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นเป็น จำนวนประมาณ ๑๓ ล้านคน ในช่วง ๕ ปีที่ผ่านมา เพิ่มขึ้นปีละประมาณ ๖๐๐,๐๐๐ คน ซึ่งโรคไม่ติดต่อได้คร่าชีวิตประชากรไทยถึงร้อยละ ๗๕ ของการเสียชีวิตทั้งหมด หรือราว ๓๒๐,๐๐๐ คนต่อปี (สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, ๒๕๕๗) และข้อมูลจาก นพ.ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในการประชุมมหกรรมสุขภาพด้านโรคไม่ติดต่อ (NCDs Forum ๒๐๑๘) ภายใต้แนวคิด “Together, Let’s beat NCDs : ประชารัฐร่วมใจลดภัย NCDs” กล่าวว่ากลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตไม่น้อยกว่า ๓๖ ล้านคนทั่วโลกในแต่ละปี หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ ๖๓ ของสาเหตุการตายทั้งหมด คาดประมาณความสูญเสียทางเศรษฐกิจในช่วง ๑๕ ปีข้างหน้า ประมาณ ๗ ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ สำหรับประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังถึงร้อยละ ๗๕ หรือประมาณ ๓๒๐,๐๐๐ คนต่อปี เฉลี่ยชั่วโมงละ ๓๗ คน
จากการศึกษาข้อมูลทางสถิติจากระบบข้อมูลสุขภาพส่วนกลาง (HDC V. ๔.๐) เเละข้อมูลจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลโคกม่วง พบว่า อัตราอุบัติการณ์ประชาชนในพื้นที่หมู่ ๗ บ้านทุ่งโชน ตำบลคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา เปรียบเทียบระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๖๐ เเละ พ.ศ. ๒๕๖๑ พบผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นถึง ๒ เท่า โดยเฉพาะอัตราอุบัติการณ์โรคความดันโลหิตสูง ที่ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ อยู่ที่ ๔ ราย ต่อประชากร ๖๘๐ คน เเต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ พบสูงถึง ๘ ราย ต่อประชากร ๕๘๑ คน เเละเมื่อศึกษาถึงข้อมูลอัตราความชุกของการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในพื้นที่ พบว่า อัตราความชุกเพิ่มสูงขึ้นในทุกๆโรค โดยเฉพาะ ๓ โรค ที่เป็นปัญหาหลักของชุมชน คือ โรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบจำนวนผู้ป่วยระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๖๐ กับ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ พบจำนวนผู้ป่วยเพิ่มสูงขึ้น จาก ๖๔ ราย ต่อประชากร ๖๘๐ คน เพิ่มเป็น ๗๑ ราย ต่อประชากร ๕๘๑ คน และโรคเบาหวานพบผู้ป่วยอยู่ที่ ๒๒ ราย ต่อประชากร ๖๘๐ คน เเต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ พบผู้ป่วยโรคเบาหวานอยู่ที่ ๒๐ รายต่อประชากร ๕๘๑ คนถึงเเม้ประชากรจะลดลงเเต่จำนวนผู้ป่วยยังคงเพิ่มมากขึ้น เเละยังไม่มีเเนวโน้มที่จะลดลงเเม้เเต่น้อย ซึ่งทางกลุ่มนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ ๔ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ลงพื้นที่เพื่อสำรวจเก็บข้อมูล โดยการสุ่มตัวอย่างประชากรหมู่ที่ ๗ บ้านทุ่งโชน จำนวน ๗๐ คน ที่มีอายุตั้งเเต่ ๑๕ ปีขึ้นไป โดยกระจายตัวครอบคลุมทั่วหมู่บ้าน โดยใช้เเบบประเมินสุขภาพอนามัยเเละสิ่งเเวดล้อมเพื่อเก็บข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพที่เป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ครอบคลุมพฤติกรรมเสี่ยง ได้เเก่ การดื่มเหล้า สูบบุหรี่ ขาดการออกกำลังกาย การรับประทานอาหารหวาน มัน เค็มจัด และความเครียด พบว่า ยังมีผู้ที่ไม่ควบคุมอาหารหวาน มัน เค็ม สูงถึง ๔๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๔.๒๔ เเละเมื่อศึกษาถึงพฤติกรรมการออกกำลังกาย พบข้อมูลว่า มีผู้ออกกำลังกายไม่ถึง ๓ ครั้งต่อสัปดาห์ สูงถึง ๓๔ คน หรือคิดเป็นร้อยละ ๔๘.๕๘ หรือประมาณเกือบครึ่งหนึ่งของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด เเละเมื่อสำรวจเเละรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคผัก พบว่า มีประชาชนบริโภคผักไม่สม่ำเสมอสูงถึง ๒๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๒.๘๐ นอกจากนี้พบว่า พฤติกรรมการสูบบุหรี่และดื่มสุรา มีกลุ่มตัวอย่างเกินกว่าครึ่ง ที่มีพฤติกรรมการดื่มสุรา สูบบุหรี่และได้รับควันบุหรี่ตั้งเเต่ ๑ ถึง ๗ ครั้งต่อสัปดาห์ เเละเมื่อศึกษาเกี่ยวกับการแก้ปัญหาและป้องกันโรคดังกล่าวจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกม่วง พบว่า มีการเเก้ไขปัญหาดังกล่าวเพียงการป้องกันโรคในระดับทุติยภูมิ (Secondary Prevention) คือ การตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ทุกสัปดาห์ที่ ๓ ของเดือน โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง อายุ ๓๕ ปีขึ้นไป เท่านั้น
นอกจากนี้จากการประชุมหมู่บ้าน ณ หมู่ที่ ๗ บ้านทุ่งโชน ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา เมื่อวันที่ ๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ซึ่งประกอบไปด้วยผู้นำชุมชน ตัวเเทนจากเทศบาลตำบลโคกม่วง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลโคกม่วง สำนักงานสาธารณสุขอำเภอคลองหอยโข่ง ตัวเเทนอาสาสมัครสาธารณสุข เเละประชาชนในพื้นที่ รวมทั้งสิ้น ๔๑ คน ได้มีมติที่ประชุมว่า ชุมชนมีความต้องการให้จัดโครงการที่เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยได้คะเเนนเสียงที่เป็นเอกฉันท์ คือ ๓๙ เสียง จาก ๔๑ เสียงโดยเสนอให้จัดทำโครงการที่ครอบคลุมด้านสุขภาพ ได้แก่ การส่งเสริมพฤติกรรมการออกกำลังกายที่สอดคล้องกับวิถีการดำรงชีวิตของชาวบ้าน การตรวจคัดกรองโรค เบาหวาน ความดันโลหิตสูง การให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ ครอบคลุมถึงเรื่องอารมณ์เเละความเครียด เเละยังเสนอให้เเก้ปัญหาการสูบบุหรี่เเละดื่มสุราของประชาชนในพื้นที่เช่นกัน ดังนั้นทางกลุ่มนักศึกษาได้ร่วมกันประชุมกับคณะกรรมการดำเนินโครงการ ประกอบไปด้วย ผู้ใหญ่บ้าน เป็นประธานการดำเนินงาน ร่วมกับตัวเเทนจากเทศบาลตำบลโคกม่วง ตัวเเทนจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลโคกม่วง ตัวเเทนประชาชนในพื้นที่ เห็นชอบว่าควรมีการจัดทำโครงการที่สอดรับกับความต้องการของประชาชน จึงได้จัดทำโครงการ “ชุมชนสุขภาพดี ตามวิถีทุ่งโชน” เพื่อป้องกันโรคในระดับปฐมภูมิ (Primary Prevention) เเละทุติยภูมิ (Secondary Prevention) ได้เเก่ การส่งเสริมสุขภาพ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การคัดกรองโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง เป็นต้น เเละเพื่อให้เกิดความรู้ในการดูเเลสุขภาพตนเองของประชาชน นำไปสู่ความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และสามารถนำความรู้ไปสู่การปฏิบัติจริงในชีวิตประจำวันได้ ทำให้ประชาชนชาวหมู่ ๗ บ้านทุ่งโชน มีสุขภาพที่เเข็งเเรง มีพฤติกรรมในการดูแลตนเองด้านสุขภาพเหมาะสม สามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างสงบสุข ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ได้อย่างเต็มความสามารถ ลดอัตราอุบัติการณ์ของการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เเละลดอัตราการเสียชีวิตจากโรคกลุ่มดังกล่าว ช่วยประหยัดงบประมาณประเทศชาติที่นำมาเเก้ไขปัญหาดังกล่าว เเละก้าวสู่ประเทศที่พัฒนาเเล้วได้อย่างเต็มภาคภูมิ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการเลือกบริโภคอาหารอย่างเหมาะสมกับภาวะสุขภาพ
  2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องผลกระทบของบุหรี่และสุราที่มีต่อสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชน
  3. เพื่อสร้างแนวทางในการออกกำลังกายที่เหมาะสมตามวิถีชีวิตของชุมชนแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ
  4. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเเสดงละครชุด เมื่อยิ่งรู้ ยิ่งต้องเลิก (เลิกบุหรี่ เลิกสุรา)
  2. กิจกรรมฐานลดหวานมันเค็มเติมเต็มสุขภาพ
  3. กิจกรรมฐานขยับสักนิด..ปรับสุขภาพกายจิตให้แข็งแรง
  4. ประเมินโครงการและปิดโครงการ
  5. สื่อประชาสัมพันธ์โครงการ
  6. กิจกรรมให้ความรู้พร้อมลงทะเบียนเเละตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
  7. กิจกรรมนำเสนอผลการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑. ผู้เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรมในการดูแลตนเองด้านสุขภาพเหมาะสม มีสุขภาวะทางสุขภาพที่ดีขึ้น ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ได้อย่างเต็มความสามารถและสามารถเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ชุมชนต่อไป
๒. อัตราอุบัติการณ์การเกิดโรคไม่ติดต่อในชุมชมมีแนวโน้มลดลงในอนาคต และประหยัดงบประมาณประเทศชาติที่นำมาเเก้ไขปัญหาดังกล่าว


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการเลือกบริโภคอาหารอย่างเหมาะสมกับภาวะสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการทุกคน สามารถตอบคำถามเรื่องการเลือกบริโภคอาหารอย่างเหมาะสมกับภาวะสุขภาพได้ถูกต้องอย่างน้อย ๘ ใน ๑๐ ข้อ
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องผลกระทบของบุหรี่และสุราที่มีต่อสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชน
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการทุกคน สามารถตอบคำถามเรื่องผลกระทบของบุหรี่และสุราที่มีต่อสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้ถูกต้องอย่างน้อย ๘ ใน ๑๐ ข้อ
0.00

 

3 เพื่อสร้างแนวทางในการออกกำลังกายที่เหมาะสมตามวิถีชีวิตของชุมชนแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๑๐๐ ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถสาธิตย้อนกลับท่าทางในการออกกำลังกายที่เหมาะสมตามวิถีชีวิตของชุมชนได้
0.00

 

4 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๑๐๐ ของผู้เข้าร่วมโครงการทราบถึงภาวะสุขภาพของตนเอง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการเลือกบริโภคอาหารอย่างเหมาะสมกับภาวะสุขภาพ (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องผลกระทบของบุหรี่และสุราที่มีต่อสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชน (3) เพื่อสร้างแนวทางในการออกกำลังกายที่เหมาะสมตามวิถีชีวิตของชุมชนแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ (4) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเเสดงละครชุด เมื่อยิ่งรู้ ยิ่งต้องเลิก (เลิกบุหรี่ เลิกสุรา) (2) กิจกรรมฐานลดหวานมันเค็มเติมเต็มสุขภาพ (3) กิจกรรมฐานขยับสักนิด..ปรับสุขภาพกายจิตให้แข็งแรง (4) ประเมินโครงการและปิดโครงการ (5) สื่อประชาสัมพันธ์โครงการ (6) กิจกรรมให้ความรู้พร้อมลงทะเบียนเเละตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (7) กิจกรรมนำเสนอผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนสุขภาพดี ตามวิถีบ้านทุ่งโชน

ระยะเวลาโครงการ 15 พฤศจิกายน 2561 - 23 พฤศจิกายน 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการชุมชนสุขภาพดี ตามวิถีบ้านทุ่งโชน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( คณะกรรมการหมู่บ้านหมู่ที่7 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด