กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ ชุมชนคนโคกม่วงป้องกันโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2562 ”
ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางจีรวรรณ สุวรรรชาตรี




ชื่อโครงการ โครงการ ชุมชนคนโคกม่วงป้องกันโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤศจิกายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2562

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ชุมชนคนโคกม่วงป้องกันโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ชุมชนคนโคกม่วงป้องกันโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ชุมชนคนโคกม่วงป้องกันโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤศจิกายน 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 110,515.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญมากเป็นลำดับต้นๆ คือ ปัญหาโรคไม่ติดต่อ และโรคเรื้อรัง เช่น โรคมะเร็ง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ซึ่งนับวันจะมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกปี สมาพันธ์เบาหวานนานาชาติ (International Diabetes Federation : IDF) ได้ประมาณการว่ามีจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน 382 ล้านคนทั่วโลก และในปี 2578 จะมีผู้ที่ป่วยถึง 592 ล้านคนหรือ ใน 10 คนจะพบผู้ป่วยเบาหวาน 1 คน และในปัจจุบันพบว่าประชากรมากกว่า 316 ล้านคนมีความเสี่ยงสูงที่จะพัฒนาไปเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 นอกจากนี้ องค์การอนามัยโลกได้ประมาณไว้ว่าจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั่วโลก จาก 194 ประเทศ มีจำนวนถึง 970 ล้านคน โดย 330 ล้านคนอยู่ในประเทศพัฒนา และ 640 ล้านคนอยู่ในประเทศกำลังพัฒนา และในปี 2568 คาดว่าจะมีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นเป็น 1.56 พันล้านคน นอกจากนี้ ครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยที่เสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองและโรคหัวใจขาดเลือดเกิดจากความดันโลหิตสูง สำหรับในประเทศไทยมียอดผู้ป่วยเบาหวานสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 จำนวน 1,799,977 ราย ความชุก 2,800.80 ต่อประชากรแสนคน และระหว่างวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2555 - 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 มีผู้ป่วยเบาหวาน ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นผู้ป่วยรายใหม่จำนวน 336,265 ราย อุบัติการณ์ 523.24 ต่อประชากรแสนคนโดยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วง ปี พ.ศ. 2551 – 2555 สำหรับโรคความดันโลหิตสูงนั้นพบว่า ในปี 2555 มีผู้เสียชีวิตจากสาเหตุความดันโลหิตสูง จำนวน 3,684 ราย สถานการณ์ป่วยและเข้ารับการรักษาในสถานบริการสาธารณสุขของกระทรวงสาธารณสุขด้วยโรคความดันโลหิตสูง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในทุกภาค เมื่อเปรียบเทียบจากปี 2544 และปี 2555 พบว่าอัตราป่วยต่อประชากรแสนคน จะมีผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มจาก 156,442 ราย เป็น 1,009,385 ราย ซึ่งถือว่ามีอัตราการเพิ่มขึ้นกว่า 5 เท่า นอกจากนี้ผู้ป่วยทั้ง 2 โรคนี้ เมื่อป่วยไประยะหนึ่งแล้วมักจะเกิดโรคแทรกซ้อนทาง ตา ไต หัวใจ ระบบประสาท แผลเรื้อรัง ในผู้ป่วยเบาหวาน และโรคหลอดเลือดสมอง ไต หัวใจ ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงอีกด้วย
จากผลการดำเนินงานที่ผ่านมาของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกม่วงพบว่า ในปีงบประมาณ 2561 คัดกรองโรคเบาหวานได้ร้อยละ 85.91 พบเป็นกลุ่มเสี่ยงร้อยละ 27.78 พบกลุ่มสงสัยป่วยร้อยละ 2.29 กลุ่มเสี่ยงเข้ารับหารปรับเปลี่ยนร้อยละ 71.04 หลังปรับพฤติกรรมครบ 6 เดือนปรับพฤติกรรมได้ร้อยละ 26.66 และคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงได้ร้อยละ 83.55 พบเป็นกลุ่มเสี่ยงร้อยละ 27.84 พบกลุ่มสงสัยป่วยร้อยละ 17.29 กลุ่มเสี่ยงเข้ารับหารปรับเปลี่ยนร้อยละ 69.95 หลังปรับพฤติกรรมครบ 6 เดือนปรับพฤติกรรมได้ร้อยละ 50.28 ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวเกิดจากการรณรงค์โดยใช้กลวิธีที่หลากหลายติดต่อกันเป็นเวลาหลายปีที่ผ่านมา และยังพบว่าผู้ป่วยรายใหม่ก็มีแนวโน้มลดลงทุกปีเช่นกัน แต่ยังพบ กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เป็นจำนวนมาก กลุ่มเสี่ยงที่เข้าสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมยังไม่ครอบคลุม ซึ่งอาจเกิดจากขาดความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักต่อความเสี่ยงที่จะกลายเป็นกลุ่มป่วยในอนาคต ในขณะเดียวกันผู้ป่วยรายเก่าที่เข้ารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรังในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกม่วง มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นทุกปี แม้ว่าโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกม่วงสามารถจัดระบบการดูแลกลุ่มโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงได้อย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน อย่างไรก็ตามยังต้องมีการพัฒนาระบบการดูแลให้เอื้อต่อการเข้าถึงบริการ การป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน และการส่งเสริมสุขภาพทั้งทางกาย จิต และสังคม เพิ่มมากขึ้น ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคก จึงได้จัดทำโครงการชุมชน-คนโคกม่วงป้องกันโรคเรื้อรังขึ้น โดยนำแนวคิด DHS มาปรับใช้ในการดำเนินงาน เพื่อดึงให้ชุมชน ผู้นำชุมชน และประชาชนทั่วไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมป้องกันโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1) เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปในตำบลโคกม่วง ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
  2. 2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ได้เข้าสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการในป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง
  3. 3) เพื่อให้การวินิจฉัยผู้ป่วยรายใหม่เป็นไปอย่างรวดเร็ว ครอบคลุม และได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง
  4. 4) เพื่อพัฒนาคลินิกเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง รวมทั้งปรับปรุงแนวทางในการดูแลผู้ป่วยของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้มีคุณภาพมาตรฐานครบถ้วนตามแนวทางเวชปฏิบัติ
  5. 5) เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการในด้านการรักษาและส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวานและญาติในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1) กิจกรรมตรวจคัดกรองโรค Metabolic syndrome
  2. 2) กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  3. กิจกรรมป้องกันโรคแทรกซ้อน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1) ประชาชนเห็นความสำคัญของการคัดกรองโรค และนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อลดโอกาสเสี่ยงในการเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมอง และโรคอ้วนลงพุง 2) กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ ส่งผลให้ลดอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และหลอดเลือดสมองรายใหม่ในระยะยาวได้ 3) ผู้ป่วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง เข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และระดับความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์ส่งผลให้สามารถชะลอการเกิดภาวะ แทรกซ้อนในระยะยาวได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1) เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปในตำบลโคกม่วง ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 1) ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปรวมทุกสิทธิของตำบลโคกม่วง ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 90
0.00

 

2 2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ได้เข้าสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการในป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : 2) กลุ่มเสี่ยงเข้าสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 70 และสามารถลดภาวะเสี่ยงได้ ร้อยละ 3๐
0.00

 

3 3) เพื่อให้การวินิจฉัยผู้ป่วยรายใหม่เป็นไปอย่างรวดเร็ว ครอบคลุม และได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : 3) กลุ่มสงสัยป่วยรายใหม่ได้รับการติดตามเพื่อการวินิจฉัย ร้อยละ 100
0.00

 

4 4) เพื่อพัฒนาคลินิกเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง รวมทั้งปรับปรุงแนวทางในการดูแลผู้ป่วยของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้มีคุณภาพมาตรฐานครบถ้วนตามแนวทางเวชปฏิบัติ
ตัวชี้วัด : 4) กลุ่มป่วยได้รับการดูแลรักษาตามแนวทางเวชปฏิบัติร้อยละ 100
0.00

 

5 5) เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการในด้านการรักษาและส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวานและญาติในชุมชน
ตัวชี้วัด : 5) ผู้ป่วยเบาหวาน-ความดันโลหิตสูงในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมในคลินิกโรคเรื้อรังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1) เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปในตำบลโคกม่วง ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง (2) 2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ได้เข้าสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการในป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง (3) 3) เพื่อให้การวินิจฉัยผู้ป่วยรายใหม่เป็นไปอย่างรวดเร็ว ครอบคลุม และได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง (4) 4) เพื่อพัฒนาคลินิกเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง รวมทั้งปรับปรุงแนวทางในการดูแลผู้ป่วยของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้มีคุณภาพมาตรฐานครบถ้วนตามแนวทางเวชปฏิบัติ (5) 5) เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการในด้านการรักษาและส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวานและญาติในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1) กิจกรรมตรวจคัดกรองโรค Metabolic syndrome (2) 2) กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (3) กิจกรรมป้องกันโรคแทรกซ้อน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ชุมชนคนโคกม่วงป้องกันโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2562 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจีรวรรณ สุวรรรชาตรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด