กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน


“ โครงการอาสาสมัครร่วมใจป้องกันภัยอุบัติเหตุจราจร ”

ศาลาเอนกประสงค์หมู่ที่ 7 บ้านสะพานยาง

หัวหน้าโครงการ
ประธานอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ตำบลเขาปูน

ชื่อโครงการ โครงการอาสาสมัครร่วมใจป้องกันภัยอุบัติเหตุจราจร

ที่อยู่ ศาลาเอนกประสงค์หมู่ที่ 7 บ้านสะพานยาง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 10/2560 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาสาสมัครร่วมใจป้องกันภัยอุบัติเหตุจราจร จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศาลาเอนกประสงค์หมู่ที่ 7 บ้านสะพานยาง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาสาสมัครร่วมใจป้องกันภัยอุบัติเหตุจราจร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาสาสมัครร่วมใจป้องกันภัยอุบัติเหตุจราจร " ดำเนินการในพื้นที่ ศาลาเอนกประสงค์หมู่ที่ 7 บ้านสะพานยาง รหัสโครงการ 10/2560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันไม่ว่าจะเป็นชุมชนชนบทหรือว่าชุมชนเมืองการคมนาคม การสัญจรเป็นปัจจัยหลักในการดำเนินชีวิตของโลกปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นการสัญจรหาเลี้ยงชีพการเล่าเรียนศึกษา การไปติดต่อประสานงานต่างๆ รถยนต์ รถจักรยานยนต์ ถือว่าเป็นสิ่งอำนวยความสะดวกในการสัญจรไปมา แต่สิ่งที่จะเกิดขึ้นในชีวิตของผู้ขับขี่ก็คือการเกิดอุบัติเหตุที่ตั้งใจหรือไม่ตั้งใจ ก็จะทำให้สูญเสียชีวิตหรือทรัพย์สินที่ตามมา จากการตรวจสอบปัญหาพบว่า ผู้ขับขี่รถยนต์ยังขาดความรู้ในเรื่องของการจราจรและการปฏิบัติตัวตามกฎหมายการจราจร ปัญหาเหล่านี้มักจะเกิดกับเด็กและเยาวชน ที่ยังขาดความเข้าใจที่ทักษะในการขับขี่รถยนต์หรือรถจักรยานยนต์ตามนโยบายรัฐบาล กำหนดให้ดำเนินงานตามโครงการปีแห่งความปลอดภัย เพื่อการก้าวสู่ทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน (Decade of Action for Road Safety) ที่กำหนดเป้าหมายลดอุบัติเหตุทางถนนลงให้ได้ร้อยละ 50 ในช่วงปี พ.ศ.2554-2563 และโครงการหนึ่งที่สำคัญในนโยบายเรื่องนี้ของรัฐบาล คือโครงการถนนสีขาว คำว่าถนนสีขาว หมายถึงเส้นทางคมนาคมสำคัญที่หน่วยงานพัฒนา ปรับปรุงให้สัญจรอย่างปลอดภัย รวดเร็ว และสะดวก และรณรงค์ลดอุบัติเหตุจราจรที่เป้าหมายไม่เกิดอุบัติเหตุในสายทาง
ซึ่งอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนมีโอกาสที่จะได้พบกับผู้ประสบอุบัติเหตุที่เกิดจากการทำงานที่ไม่ปลอดภัย หรือจากสภาพแวดล้อมการทำงานที่ไม่ปลอดภัยซึ่งการช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุ ถ้าผู้พบเห็นมีความรู้เรื่อง การปฐมพยาบาล จะสามารถช่วยเหลือผู้อื่นได้ สามารถบรรเทาความเจ็บปวด ป้องกันภาวะแทรก ซ้อนก่อนนำส่งโรงพยาบาล จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนควรมีความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และปัจจุบันเป็นที่ยอมรับว่าปัญหาจราจร เป็นปัญหาที่ต้องอาศัยระยะเวลาในการแก้ไข โดยจะต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เราต้องมีการประสานความร่วมมือและร่วมกันทำงานไปพร้อมๆกัน และ เนื่องจากสภาพการใช้รถใช้ถนนในปัจจุบัน มีปัญหาเกิดขึ้นหลายประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุบัติเหตุจากการใช้รถ ใช้ถนน ซึ่งเกิดความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ซึ่งมีสาเหตุสำคัญหลายประการ กล่าวคือ ผู้ใช้รถใช้ถนนส่วนใหญ่ ขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายจราจร ระเบียบข้อบังคับต่างๆ ขาดจิตสำนึกรับผิดชอบ ขาดมารยาทและวินัยในการขับขี่ ซึ่งการใช้มาตรการทางกฎหมายเพียงอย่างเดียวไม่สามารถลดอัตราความสูญเสียที่เกิดขึ้นได้ ดังนั้น จึงได้จัดโครงการ “พัฒนาศักยภาพอาสาสมัครร่วมใจป้องกันภัยอุบัติเหตุจราจร”ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครร่วมใจป้องกันภัยอุบัติเหตุจราจรและผู้นำในชุมชน
  2. 2.เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุในชุมชน
  3. 3.เพื่อพัฒนาให้เป็นตำบลต้นแบบด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.พัฒนาศักยภาพอาสาสมัครร่วมใจป้องกันภัยอุบัติเหตุจราจรและผู้นำในชุมชน 2.ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุในชุมชน 3.พัฒนาให้เป็นตำบลต้นแบบด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุ 4.อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเผยแพร่ความรู้ให้กับประชาชนในตำบล


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. 1.การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัย 2.ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยทางถนนและการปฏิบัติตามกฎหมายจราจร

    วันที่ 15 กันยายน 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในปัจจุบันไม่ว่าจะเป็นชุมชนชนบทหรือว่าชุมชนเมืองการคมนาคม การสัญจรเป็นปัจจัยหลักในการดำเนินชีวิตของโลกปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นการสัญจรหาเลี้ยงชีพ การเล่าเรียนศึกษา การไปติดต่อประสานงานต่าง ๆ รถยนต์ รถจักรยานยนต์ ถือว่าเป็นสิ่งอำนวยความสะดวกในการสัญจรไปมา แต่สิ่งที่จะเกิดขึ้นในชีวิตของผู้ขับขี่ก็คือการเกิดอุบัติเหตุที่ตั้งใจหรือไม่ตั้ง ก็จะทำให้สูญเสียชีวิตหรือทรัพย์สินที่ตามมา อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนมีโอกาสที่จะได้พบกับผู้ประสบอุบัติเหตุที่เกิดจากการทำงานที่ไม่ปลอดภัย หรือจากสภาพแวดล้อมการทำงานที่ไม่ปลอดภัย ซึ่งการช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุ ถ้าผู้พบเห็นมีความรู้เรื่อง การปฐมพยาบาล จะสามารถช่วยเหลือผู้อื่นได้ สามารถบรรเทาความเจ็บปวด ป้องกันภาวะแทรกซ้อนก่อนนำส่งโรงพยาบาล จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนควรมีความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และปัจจุบันเป็นที่ยอมรับว่าปัญหาจราจร เป็นปัญหาที่ต้องอาศัยระยะเวลาในการแก้ไข โดยต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องไม่ว่าเป็นภาครัฐ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เราต้องมีการประสานความร่วมมือและร่วมกันทำงานไปพร้อมๆกัน และเนื่องจากสภาพการใช้รถใช้ถนนในปัจจุบัน มีปัญหาเกิดขึ้นหลายประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุบัติเหตุจากการใช้รถ ใช้ถนน ซึ่งเกิดความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ซึ่งมีสาเหตุสำคัญหลายประการ กล่าวคือ ผู้ใช้รถใช้ถนนส่วนใหญ่ ขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายจราจร ระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ ขาดจิตสำนึกรับผิดชอบ ขาดมารยาทและวินัยในการขับขี่ ซึ่งการใช้มาตรการทางกฎหมายเพียงอย่างเดียวไม่สามารถลดอัตราความสูญเสียที่เกิดขึ้นได้

    จากการทำกิจกรรมโครงการดังกล่าว พบว่าประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี ซึ่งคณะทำงาน คณะกรรมการศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนตำบลเขาปูน ได้สรุปไว้ดังนี้ 1.ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี ตั้งแต่เริ่มต้นของ "โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครร่วมใจป้องกันภัยอุบัติเหตุจราจร" จนถึงปิดโครงการ 2.วิทยากร ให้ความเป็นกันเองและให้ความรู้อย่างทั่วถึง 3.ร้อยละ ๙๐ ของอาสาสมัครป้องกันภัย่ฝ่ายพลเรือน ผู้นำชุมชน ตำบลเขาปูน มีความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัยและมีความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยทางถนนและการปฏิบัติตามกฎหมายจราจร

     

    50 50

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ในปัจจุบันไม่ว่าจะเป็นชุมชนชนบทหรือว่าชุมชนเมืองการคมนาคม การสัญจรเป็นปัจจัยหลักในการดำเนินชีวิตของโลกปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นการสัญจรหาเลี้ยงชีพ การเล่าเรียนศึกษา การไปติดต่อประสานงานต่าง ๆ รถยนต์ รถจักรยานยนต์ ถือว่าเป็นสิ่งอำนวยความสะดวกในการสัญจรไปมา แต่สิ่งที่จะเกิดขึ้นในชีวิตของผู้ขับขี่ก็คือการเกิดอุบัติเหตุที่ตั้งใจหรือไม่ตั้ง ก็จะทำให้สูญเสียชีวิตหรือทรัพย์สินที่ตามมา อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนมีโอกาสที่จะได้พบกับผู้ประสบอุบัติเหตุที่เกิดจากการทำงานที่ไม่ปลอดภัย หรือจากสภาพแวดล้อมการทำงานที่ไม่ปลอดภัย ซึ่งการช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุ ถ้าผู้พบเห็นมีความรู้เรื่อง การปฐมพยาบาล จะสามารถช่วยเหลือผู้อื่นได้ สามารถบรรเทาความเจ็บปวด ป้องกันภาวะแทรกซ้อนก่อนนำส่งโรงพยาบาล จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนควรมีความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และปัจจุบันเป็นที่ยอมรับว่าปัญหาจราจร เป็นปัญหาที่ต้องอาศัยระยะเวลาในการแก้ไข โดยต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องไม่ว่าเป็นภาครัฐ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เราต้องมีการประสานความร่วมมือและร่วมกันทำงานไปพร้อมๆกัน และเนื่องจากสภาพการใช้รถใช้ถนนในปัจจุบัน มีปัญหาเกิดขึ้นหลายประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุบัติเหตุจากการใช้รถ ใช้ถนน ซึ่งเกิดความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ซึ่งมีสาเหตุสำคัญหลายประการ กล่าวคือ ผู้ใช้รถใช้ถนนส่วนใหญ่ ขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายจราจร ระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ ขาดจิตสำนึกรับผิดชอบ ขาดมารยาทและวินัยในการขับขี่ ซึ่งการใช้มาตรการทางกฎหมายเพียงอย่างเดียวไม่สามารถลดอัตราความสูญเสียที่เกิดขึ้นได้

    จากการทำกิจกรรมโครงการดังกล่าว พบว่าประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี ซึ่งคณะทำงาน คณะกรรมการศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนตำบลเขาปูน ได้สรุปไว้ดังนี้ 1.ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี ตั้งแต่เริ่มต้นของ "โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครร่วมใจป้องกันภัยอุบัติเหตุจราจร" จนถึงปิดโครงการ 2.วิทยากร ให้ความเป็นกันเองและให้ความรู้อย่างทั่วถึง 3.ร้อยละ ๙๐ ของอาสาสมัครป้องกันภัย่ฝ่ายพลเรือน ผู้นำชุมชน ตำบลเขาปูน มีความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัยและมีความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยทางถนนและการปฏิบัติตามกฎหมายจราจร ประโยชน์ที่ได้รับจากการทำกิจกรรม 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครร่วมใจป้องกันภัยอุบัติเหตุจราจรและผู้นำในชุมชน 2.เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุในชุมชน 3.เพื่อพัฒนาให้เป็นตำบลต้นแบบด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุ 4.เพื่อให้อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเผยแพร่ความรู้ให้กับประชาชน

    งบประมาณ 12,700 บาท 1.ค่าจ้างเหมาจัดทำอาหารกลางวัน 50 คน มื้อละ 70 บาท รวม 1 มื้อ  เป็นเงิน  3,500 บาท 2.ค่าจ้างเหมาจัดทำอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาท รวม 2 มื้อ  เป็นเงิน  2,500 บาท 3.ค่าวิทยากร ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 6 ชั่วโมง  เป็นเงิน  3,600 บาท 4.ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการขนาด 1.5x2.5 เมตร  เป็นเงิน  600 บาท 5.ค่าเช่าเครื่องขยายเสียง  เป็นเงิน  2,500 บาท

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครร่วมใจป้องกันภัยอุบัติเหตุจราจรและผู้นำในชุมชน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2.เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุในชุมชน
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3.เพื่อพัฒนาให้เป็นตำบลต้นแบบด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครร่วมใจป้องกันภัยอุบัติเหตุจราจรและผู้นำในชุมชน (2) 2.เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุในชุมชน (3) 3.เพื่อพัฒนาให้เป็นตำบลต้นแบบด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอาสาสมัครร่วมใจป้องกันภัยอุบัติเหตุจราจร จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 10/2560

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ประธานอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ตำบลเขาปูน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด