โครงการป้องกันสุขภาพจากยาเสพติดของเยาวชนกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2562
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันสุขภาพจากยาเสพติดของเยาวชนกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2562 ”
ตำบลตำมะลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมาสีต๊ะ เหะน๊ะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตำมะลัง
มกราคม 2562
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันสุขภาพจากยาเสพติดของเยาวชนกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2562
ที่อยู่ ตำบลตำมะลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 62-L5306-2-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 มกราคม 2562 ถึง 26 มกราคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันสุขภาพจากยาเสพติดของเยาวชนกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2562 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตำมะลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตำมะลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันสุขภาพจากยาเสพติดของเยาวชนกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันสุขภาพจากยาเสพติดของเยาวชนกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตำมะลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5306-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 มกราคม 2562 - 26 มกราคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,038.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตำมะลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยปัจจุบันสถานการณ์การเผยแพร่ระบาดของยาเสพติด ยังคงระดับความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง รัฐบาลจึงกำหนดให้การป้องกันและแก้ไขยาเสพติด เป็นแนวนโยบายที่สำคัญและเร่งด่วน โดยยึดหลัก “ ผู้เสพ คือ ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา ผู้ค้า คือผู้ที่ต้องได้รับโทษตามกระบวนการยุติธรรม “ ซึ่งกำหนดให้เร่งรัดปราบปรามการค้ายาเสพติด และป้องกันไม่ให้กลุ่มเสี่ยงเข้าไปเป็นเหยื่อของยาเสพติด โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม ให้ร่วมดำเนินการในลักษณะบูรณาการ ควบคู่กับมาตรการทางกฎหมาย ซึ่งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดในประเทศไทย พบว่ามีเด็กและเยาวชน จำนวนไม่น้อยที่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ทั้งเกิดจากความตั้งใจและเกิดจากการหลงผิดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ อีกทั้งยังมีปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ ที่จะทำให้เด็กและเยาวชน มีโอกาสเข้าไปติดยาเสพติดเพิ่มมากขึ้นอีก เช่น เด็กและเยาวชน เป็นวัยที่ต้องการเรียนรู้ อยากลอง ต้องการเรียกร้องความสนใจ การสร้างการยอมรับ การชักจูง และการหลอกหลวง เป็นต้น
มัสยิดเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนและสังคม นอกจากเป็นสถานที่ในการปฏิบัติศาสนกิจและปลูกฝัง คุณธรรมให้แก่เด็ก เยาวชน และประชาชน ยังมีบทบาทหน้าที่และภารกิจอีกหลายด้าน อาทิ เป็นศูนย์บำบัดผู้ที่ติดยาเสพติด ตามหลักคำสอนและปฏิบัติตามหลักศาสนาอิสลาม มาแก้ปัญหา และในสภาพปัจจุบันสถานการณ์ การแพร่ระบาดของยาเสพติด มาในรูปแบบวิธีต่าง ๆ มากมาย เข้าไปสู่เด็กและเยาวชนในสถานศึกษาต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น
ดังนั้น กลุ่มสานฝันให้เด็กและเยาวชนตำบลตำมะลัง ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ข้อ 3 ของกลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน ข้อ 3.9 การป้องกันและแก้ไขปัญหา เรื่อง สารเสพติด โรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แก่เด็กวัยเรียนและเยาวชน ทั้งในเรียนและในชุมชน เพื่อหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดไม่ให้เยาวชนไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดเกิดขึ้นในหมู่บ้าน เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเยาวชนตำบลตำมะลัง ทำกิจกรรมการป้องกันกลุ่มเสี่ยงไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด จึงได้จัดทำโครงการป้องกันปัญหาสุขภาพของเยาวชนกลุ่มเสี่ยงยาเสพติด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด และมีสุขภาพจิตที่ดี ข้อที่ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันให้ห่างไกลจากยาเสพติด ข้อที่ 3. เพื่อสนับสนุนและกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนตระหนักผลอันตรายและโทษของยาเสพติด ข้อที่ 4. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันกลุ่มเสี่ยง ยาเสพติด ณ อาคารอเนกประสงค์ หมู่ที่ 3
- กิจกรรม กิจกรรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงในสถานที่จริง
- กิจกรรม ประชุมแบ่งกลุ่มติดตามกลุ่มเสี่ยง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
55
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็ก เยาวชนและประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโทษของยาเสพติดอย่างเหมาะสม
- ลดปัญหาการแพร่ระบาด ของยาเสพติดเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ปัญหายาเสพติดและสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลยาเสพติดได้
- สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน
- เด็กเยาวชนและประชาชนได้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับยาเสพติดในชุมชนสามารถใช้เป็นข้อมูลในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดได้อย่างเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด และมีสุขภาพจิตที่ดี ข้อที่ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันให้ห่างไกลจากยาเสพติด ข้อที่ 3. เพื่อสนับสนุนและกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนตระหนักผลอันตรายและโทษของยาเสพติด ข้อที่ 4. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมโครงการไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด และมีสุขภาพจิตที่ดี
2.ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความความเข้าใจ ในการป้องกันให้ห่างไกลจาก
ยาเสพติด
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
55
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
55
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด และมีสุขภาพจิตที่ดี ข้อที่ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันให้ห่างไกลจากยาเสพติด ข้อที่ 3. เพื่อสนับสนุนและกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนตระหนักผลอันตรายและโทษของยาเสพติด ข้อที่ 4. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันกลุ่มเสี่ยง ยาเสพติด ณ อาคารอเนกประสงค์ หมู่ที่ 3 (2) กิจกรรม กิจกรรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงในสถานที่จริง (3) กิจกรรม ประชุมแบ่งกลุ่มติดตามกลุ่มเสี่ยง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันสุขภาพจากยาเสพติดของเยาวชนกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2562 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 62-L5306-2-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวมาสีต๊ะ เหะน๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันสุขภาพจากยาเสพติดของเยาวชนกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2562 ”
ตำบลตำมะลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมาสีต๊ะ เหะน๊ะ
มกราคม 2562
ที่อยู่ ตำบลตำมะลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 62-L5306-2-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 มกราคม 2562 ถึง 26 มกราคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันสุขภาพจากยาเสพติดของเยาวชนกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2562 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตำมะลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตำมะลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันสุขภาพจากยาเสพติดของเยาวชนกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันสุขภาพจากยาเสพติดของเยาวชนกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตำมะลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5306-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 มกราคม 2562 - 26 มกราคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,038.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตำมะลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยปัจจุบันสถานการณ์การเผยแพร่ระบาดของยาเสพติด ยังคงระดับความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง รัฐบาลจึงกำหนดให้การป้องกันและแก้ไขยาเสพติด เป็นแนวนโยบายที่สำคัญและเร่งด่วน โดยยึดหลัก “ ผู้เสพ คือ ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา ผู้ค้า คือผู้ที่ต้องได้รับโทษตามกระบวนการยุติธรรม “ ซึ่งกำหนดให้เร่งรัดปราบปรามการค้ายาเสพติด และป้องกันไม่ให้กลุ่มเสี่ยงเข้าไปเป็นเหยื่อของยาเสพติด โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม ให้ร่วมดำเนินการในลักษณะบูรณาการ ควบคู่กับมาตรการทางกฎหมาย ซึ่งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดในประเทศไทย พบว่ามีเด็กและเยาวชน จำนวนไม่น้อยที่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ทั้งเกิดจากความตั้งใจและเกิดจากการหลงผิดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ อีกทั้งยังมีปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ ที่จะทำให้เด็กและเยาวชน มีโอกาสเข้าไปติดยาเสพติดเพิ่มมากขึ้นอีก เช่น เด็กและเยาวชน เป็นวัยที่ต้องการเรียนรู้ อยากลอง ต้องการเรียกร้องความสนใจ การสร้างการยอมรับ การชักจูง และการหลอกหลวง เป็นต้น
มัสยิดเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนและสังคม นอกจากเป็นสถานที่ในการปฏิบัติศาสนกิจและปลูกฝัง คุณธรรมให้แก่เด็ก เยาวชน และประชาชน ยังมีบทบาทหน้าที่และภารกิจอีกหลายด้าน อาทิ เป็นศูนย์บำบัดผู้ที่ติดยาเสพติด ตามหลักคำสอนและปฏิบัติตามหลักศาสนาอิสลาม มาแก้ปัญหา และในสภาพปัจจุบันสถานการณ์ การแพร่ระบาดของยาเสพติด มาในรูปแบบวิธีต่าง ๆ มากมาย เข้าไปสู่เด็กและเยาวชนในสถานศึกษาต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น
ดังนั้น กลุ่มสานฝันให้เด็กและเยาวชนตำบลตำมะลัง ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ข้อ 3 ของกลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน ข้อ 3.9 การป้องกันและแก้ไขปัญหา เรื่อง สารเสพติด โรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แก่เด็กวัยเรียนและเยาวชน ทั้งในเรียนและในชุมชน เพื่อหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดไม่ให้เยาวชนไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดเกิดขึ้นในหมู่บ้าน เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเยาวชนตำบลตำมะลัง ทำกิจกรรมการป้องกันกลุ่มเสี่ยงไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด จึงได้จัดทำโครงการป้องกันปัญหาสุขภาพของเยาวชนกลุ่มเสี่ยงยาเสพติด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด และมีสุขภาพจิตที่ดี ข้อที่ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันให้ห่างไกลจากยาเสพติด ข้อที่ 3. เพื่อสนับสนุนและกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนตระหนักผลอันตรายและโทษของยาเสพติด ข้อที่ 4. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันกลุ่มเสี่ยง ยาเสพติด ณ อาคารอเนกประสงค์ หมู่ที่ 3
- กิจกรรม กิจกรรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงในสถานที่จริง
- กิจกรรม ประชุมแบ่งกลุ่มติดตามกลุ่มเสี่ยง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 55 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็ก เยาวชนและประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโทษของยาเสพติดอย่างเหมาะสม
- ลดปัญหาการแพร่ระบาด ของยาเสพติดเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ปัญหายาเสพติดและสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลยาเสพติดได้
- สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน
- เด็กเยาวชนและประชาชนได้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับยาเสพติดในชุมชนสามารถใช้เป็นข้อมูลในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดได้อย่างเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด และมีสุขภาพจิตที่ดี ข้อที่ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันให้ห่างไกลจากยาเสพติด ข้อที่ 3. เพื่อสนับสนุนและกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนตระหนักผลอันตรายและโทษของยาเสพติด ข้อที่ 4. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมโครงการไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด และมีสุขภาพจิตที่ดี 2.ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความความเข้าใจ ในการป้องกันให้ห่างไกลจาก ยาเสพติด |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 55 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 55 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด และมีสุขภาพจิตที่ดี ข้อที่ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันให้ห่างไกลจากยาเสพติด ข้อที่ 3. เพื่อสนับสนุนและกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนตระหนักผลอันตรายและโทษของยาเสพติด ข้อที่ 4. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันกลุ่มเสี่ยง ยาเสพติด ณ อาคารอเนกประสงค์ หมู่ที่ 3 (2) กิจกรรม กิจกรรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงในสถานที่จริง (3) กิจกรรม ประชุมแบ่งกลุ่มติดตามกลุ่มเสี่ยง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันสุขภาพจากยาเสพติดของเยาวชนกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2562 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 62-L5306-2-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวมาสีต๊ะ เหะน๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......