โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ 0- 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2562
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ 0- 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2562 ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางลาตียา มะหมาด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน
กันยายน 2562
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ 0- 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2562
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 62-L5307-3-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ 0- 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2562 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ 0- 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ 0- 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5307-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,520.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การมีชีวิตที่สมบูรณ์แข็งแรงทั้งชีวิตและจิตใจขึ้นอยู่กับองค์ประกอบหลายอย่าง นับตั้งแต่ การเจริญเติบโตอยู่ในครรภ์มารดาและ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่สำคัญของการส่งเสริมสุขภาพเด็กอายุ 0-5 ปี เพื่อให้มีคุณภาพดีตั้งแต่เยาว์วัยและมีการพัฒนาการที่เหมาะสม โดยสนับสนุนดูแลสุขภาพของเด็ก เพื่อให้เด็กให้ได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนมีประโยชน์ และ พัฒนาการสมวัยเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ขาดสารอาหารเป็นปัญหาสำคัญที่พบได้ทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กอายุ 0-5 ปี เมื่อเริ่มขาดสารอาหารตั้งแต่เด็กก็ไม่สามารถเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่สมบูรณ์แข็งแรงได้เพื่อให้เด็กเหล่านี้ได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่า จึงจำเป็นให้ ผู้ปกครองมีความรู้ด้านอาหารและโภชนาการ เด็กจะได้มีร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง จะต้องเน้นการส่งเสริมสุขภาพของเด็กอายุ 0-5 ปี โดยการร่วมกับผู้ปกครองหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการตามวัย จัดอบรมส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับโภชนาการทั้งนี้เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการเลี้ยงดูเด็กอายุ 0-5 ปีให้มีการเจริญเติบโตเป็นไปตามปกติพัฒนาการสมวัยส่งผลให้สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงทั้งทางร่างกายและจิตใจ จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลในปี ปี 2559-2560 พบว่าเด็กอายุ 0-5 ปี มีการเจริญเติบโตตามเกณฑ์ ร้อยละ 86.48 และเด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการร้อยละ 13.20มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 99.17 นับเป็นปัญหาที่ต้องแก้ไข้ในเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาเด๊ะ เห็นถึงความสำคัญของการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เพื่อเป็นการลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี ในความรับผิดชอบของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาเด๊ะ จึงขอเสนอ โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด 0- 5 ปีขึ้น เพื่อให้เด็กมีการเจริญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐานและมีการพัฒนาการตามวัยซึ่งนำไปสู่การพัฒนาประเทศชาติต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ ในกลุ่มเด็ก 0- 5 ปี ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักไม่ถึงเกณฑ์
- เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี
- เพื่อให้ผู้ปกครองให้ความสำคัญกับการจัดอาหารเช้าให้แก่เด็ก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เฝ้าระวังปัญหาภาวะทุพโภชนาการและพัฒนาการเด็ก
- จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็ก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
75
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็ก 0 - 5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการครอบคลุมน้ำหนักและส่วนสูงสมส่วน
- ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก 0 -5 ปี ลดลง
- ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการดูแลเด็กด้านโภชนาการและการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
- ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจและเห็นความสำคัญในการจัดอาหารมื้อเช้าให้กับเด็กอย่างถูกหลักโภชนาการ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. เฝ้าระวังปัญหาภาวะทุพโภชนาการและพัฒนาการเด็ก
วันที่ 1 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำ
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กภายในศูนย์เด็กเล็ก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงตามกราฟ
60
0
2. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็ก
วันที่ 2 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
รายละเอียดกิจกรรมตามแผน : เชฺิญวิทยากรที่เชี่ยวชาญด้านภาวะโภชนาการเด็กบรรยาย จัดอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเกี่ยวกับภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็ก ซึ่งน้ำหนักกับส่วนสูงของเด็กต้องสัมพันธ์กัน ผู้ปกครองต้องเฝ้าระวังและส่งเสริมโภชนาการร่วมกับศูนย์ให้เห็นประโยชน์และโทษของการไม่ได้คำนึงถึงภาวะโภชนาการของเด็ก และจัดสื่อ นิทรรศการ บอร์ดให้ความรู้
งบประมาณ
1. ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อสำหรับผู้เข้าอบรมและครู ตลอดจนกรรมการสถานศึกษาจำนวน 75 คนๆละ 60 บาทเป็นเงิน 4,500 บาท
2.อาหารว่างและเครื่องดื่มคนละ 2 มื้อๆละ 25 บาท ผู้ปกครองที่เข้าร่วมประชุมครูและกรรมการสถานศึกษาจำนวน 75 คน เป็นเงิน 3,750 บาท
3.ค่าป้ายไวนิลโครงการ1.5*2เมตร เป็นเงิน 450 บาท
4.ค่าเช่าเครื่องเสียง เต้นท์ โต๊ะ เก้าอี้ เป็นเงิน 2,000 บาท
5.ค่าตอบแทนวิทยากร 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
6.ค่าจัดทำเอกสารคู่มือให้ความรู้ 62 เล่มๆละ 60 บาท เป็นเงิน 3,720 บาท
7.ค่าจัดทำสือ บอร์ดนิทรรศการ 2 ชิ้น เป็นเงิน 1,500 บาท
8.จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องชั่งน้ำหนักดิจิตอลพร้อมไม้วัดส่วนสูง เป็นเงิน 3,000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้ปกครองเข้าร่วมอบรม
75
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ ในกลุ่มเด็ก 0- 5 ปี ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักไม่ถึงเกณฑ์
ตัวชี้วัด : ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีการจดบันทึกการเฝ้าระวังของภาวะทางโภชนาการและน้ำหนัก ส่วนสูง สมส่วน ไม่สมส่วน ของเด็กเป็นรายบุคคล เป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้น
100.00
2
เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องภาวะโภชนาการที่เหมาะสมในเด็ก อยู่ในเกณฑ์ ดี อย่างน้อยร้อยละ 80
80.00
3
เพื่อให้ผู้ปกครองให้ความสำคัญกับการจัดอาหารเช้าให้แก่เด็ก
ตัวชี้วัด : พฤติกรรมในการจัดอาหารเช้าจากผู้ปกครองให้แก่นักเรียนมีการเปลี่ยนแปลง จากการเตรียมอาหารเช้ามาให้เด็กรับประทานที่ศูนย์เด็กฯ ดีขึ้น โดยการจัดทำแบบประเมินวัดความรู้ก่อนการอบรมและหลังการอบรม
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
75
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
0
กลุ่มวัยทำงาน
75
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ ในกลุ่มเด็ก 0- 5 ปี ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักไม่ถึงเกณฑ์ (2) เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี (3) เพื่อให้ผู้ปกครองให้ความสำคัญกับการจัดอาหารเช้าให้แก่เด็ก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เฝ้าระวังปัญหาภาวะทุพโภชนาการและพัฒนาการเด็ก (2) จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็ก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ 0- 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2562 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 62-L5307-3-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางลาตียา มะหมาด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ 0- 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2562 ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางลาตียา มะหมาด
กันยายน 2562
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 62-L5307-3-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ 0- 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2562 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ 0- 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ 0- 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5307-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,520.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การมีชีวิตที่สมบูรณ์แข็งแรงทั้งชีวิตและจิตใจขึ้นอยู่กับองค์ประกอบหลายอย่าง นับตั้งแต่ การเจริญเติบโตอยู่ในครรภ์มารดาและ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่สำคัญของการส่งเสริมสุขภาพเด็กอายุ 0-5 ปี เพื่อให้มีคุณภาพดีตั้งแต่เยาว์วัยและมีการพัฒนาการที่เหมาะสม โดยสนับสนุนดูแลสุขภาพของเด็ก เพื่อให้เด็กให้ได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนมีประโยชน์ และ พัฒนาการสมวัยเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ขาดสารอาหารเป็นปัญหาสำคัญที่พบได้ทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กอายุ 0-5 ปี เมื่อเริ่มขาดสารอาหารตั้งแต่เด็กก็ไม่สามารถเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่สมบูรณ์แข็งแรงได้เพื่อให้เด็กเหล่านี้ได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่า จึงจำเป็นให้ ผู้ปกครองมีความรู้ด้านอาหารและโภชนาการ เด็กจะได้มีร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง จะต้องเน้นการส่งเสริมสุขภาพของเด็กอายุ 0-5 ปี โดยการร่วมกับผู้ปกครองหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการตามวัย จัดอบรมส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับโภชนาการทั้งนี้เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการเลี้ยงดูเด็กอายุ 0-5 ปีให้มีการเจริญเติบโตเป็นไปตามปกติพัฒนาการสมวัยส่งผลให้สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงทั้งทางร่างกายและจิตใจ จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลในปี ปี 2559-2560 พบว่าเด็กอายุ 0-5 ปี มีการเจริญเติบโตตามเกณฑ์ ร้อยละ 86.48 และเด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการร้อยละ 13.20มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 99.17 นับเป็นปัญหาที่ต้องแก้ไข้ในเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาเด๊ะ เห็นถึงความสำคัญของการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เพื่อเป็นการลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี ในความรับผิดชอบของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาเด๊ะ จึงขอเสนอ โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด 0- 5 ปีขึ้น เพื่อให้เด็กมีการเจริญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐานและมีการพัฒนาการตามวัยซึ่งนำไปสู่การพัฒนาประเทศชาติต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ ในกลุ่มเด็ก 0- 5 ปี ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักไม่ถึงเกณฑ์
- เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี
- เพื่อให้ผู้ปกครองให้ความสำคัญกับการจัดอาหารเช้าให้แก่เด็ก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เฝ้าระวังปัญหาภาวะทุพโภชนาการและพัฒนาการเด็ก
- จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็ก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 75 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็ก 0 - 5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการครอบคลุมน้ำหนักและส่วนสูงสมส่วน
- ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก 0 -5 ปี ลดลง
- ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการดูแลเด็กด้านโภชนาการและการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
- ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจและเห็นความสำคัญในการจัดอาหารมื้อเช้าให้กับเด็กอย่างถูกหลักโภชนาการ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. เฝ้าระวังปัญหาภาวะทุพโภชนาการและพัฒนาการเด็ก |
||
วันที่ 1 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กภายในศูนย์เด็กเล็ก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงตามกราฟ
|
60 | 0 |
2. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็ก |
||
วันที่ 2 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำรายละเอียดกิจกรรมตามแผน : เชฺิญวิทยากรที่เชี่ยวชาญด้านภาวะโภชนาการเด็กบรรยาย จัดอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเกี่ยวกับภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็ก ซึ่งน้ำหนักกับส่วนสูงของเด็กต้องสัมพันธ์กัน ผู้ปกครองต้องเฝ้าระวังและส่งเสริมโภชนาการร่วมกับศูนย์ให้เห็นประโยชน์และโทษของการไม่ได้คำนึงถึงภาวะโภชนาการของเด็ก และจัดสื่อ นิทรรศการ บอร์ดให้ความรู้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้ปกครองเข้าร่วมอบรม
|
75 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ ในกลุ่มเด็ก 0- 5 ปี ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักไม่ถึงเกณฑ์ ตัวชี้วัด : ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีการจดบันทึกการเฝ้าระวังของภาวะทางโภชนาการและน้ำหนัก ส่วนสูง สมส่วน ไม่สมส่วน ของเด็กเป็นรายบุคคล เป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้น |
100.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องภาวะโภชนาการที่เหมาะสมในเด็ก อยู่ในเกณฑ์ ดี อย่างน้อยร้อยละ 80 |
80.00 |
|
||
3 | เพื่อให้ผู้ปกครองให้ความสำคัญกับการจัดอาหารเช้าให้แก่เด็ก ตัวชี้วัด : พฤติกรรมในการจัดอาหารเช้าจากผู้ปกครองให้แก่นักเรียนมีการเปลี่ยนแปลง จากการเตรียมอาหารเช้ามาให้เด็กรับประทานที่ศูนย์เด็กฯ ดีขึ้น โดยการจัดทำแบบประเมินวัดความรู้ก่อนการอบรมและหลังการอบรม |
80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 75 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 0 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 0 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 75 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ ในกลุ่มเด็ก 0- 5 ปี ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักไม่ถึงเกณฑ์ (2) เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี (3) เพื่อให้ผู้ปกครองให้ความสำคัญกับการจัดอาหารเช้าให้แก่เด็ก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เฝ้าระวังปัญหาภาวะทุพโภชนาการและพัฒนาการเด็ก (2) จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็ก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ 0- 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2562 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 62-L5307-3-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางลาตียา มะหมาด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......