โรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยฟันดี ประจำปีงบประมาณ 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยฟันดี ประจำปีงบประมาณ 2560 ”
ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมริณาแดงงาม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยฟันดี ประจำปีงบประมาณ 2560
ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 23/60 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยฟันดี ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยฟันดี ประจำปีงบประมาณ 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยฟันดี ประจำปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 23/60 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กวัยเรียน เป็นวัยที่มีการเจริญเติบโตทางด้านร่างกายและจิตใจอย่างต่อเนื่อง เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการเข้าสู่วัยรุ่น จึงมีความต้องการพลังงานและสารอาหารค่อนข้างสูง เพื่อใช้ในการสร้างเซลล์และเนื้อเยื่อสำหรับการเจริญเติบโตและเพื่อให้อวัยวะต่างๆทำงานได้ปกติตลอดทั้งการประกอบกิจกรรมและการออกกำลังกาย โดยการได้รับอาหารครบ 5 หมู่ นอกจากการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์แล้ว การดูแลสุขอนามัยในช่องปากนับว่าเป็นเรื่องที่ควรให้ความสำคัญเช่นกัน เพราะว่านักเรียนระดับประถมศึกษาอยู่ในช่วงอายุ 6-12 ปี ซึ่งเป็นวัยที่มีฟันแท้ขึ้นใหม่ๆ ลักษณะรูปร่างฟันมีหลุมร่องลึกทำให้เกิดโรคฟันผุได้ง่ายจากอุปนิสัยของเด็กที่ชอบรับประทานของหวานตลอดจนมีข้อจำกัดในเรื่องความสามารถในการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเองล้วนเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคในช่องปากได้ง่ายจากผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 7 พ.ศ.2555โดยสำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขพบว่าเด็กอายุ 12 ปีเป็นโรคฟันผุ ร้อยละ 56.9 มีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด(DMFT) 1.6 ซี่ต่อคน และผลการสำรวจฟันผุในจังหวัดสตูล ในปี พ.ศ.2558พบว่าเด็กอายุ 12 ปีมีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด(DMFT) เท่ากับ 0.23 ซี่ต่อคน และผลการสำรวจฟันผุในโรงเรียนประถมศึกษาในเขตพื้นที่ตำบลคลองขุดพบว่า มีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด(DMFT) เท่ากับ1.82 ซี่ต่อคน ซึ่งมีแนวโน้มการเกิดโรคฟันผุมากกว่าในระดับจังหวัดและระดับประเทศ
การดูแลสุขภาพร่างกายและสุขอนามัยในช่องปากจึงเป็นสิ่งที่ควรให้ความสำคัญแก่เด็กในวัยเรียนพร้อมกับการสอดแทรกความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และการดูแลสุขภาพช่องปากในรูปแบบที่เหมาะสมกับเด็กๆนั้น เพื่อให้เด็กนักเรียนได้ตระหนักเห็นว่าการดูแลสุขภาพร่างกายและสุขภาพในช่องปากนั้นเป็นเรื่องที่ทุกคนมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบ แล้วปรับเปลี่ยนปลูกฝังพฤติกรรมที่ถูกต้องและเหมาะสม
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ได้เล็งเห็นปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการโรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยฟันดี ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุดเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และการดูแลสุขอนามัยในช่องปากมากขึ้น โดยจัดกิจกรรมเน้นการมีส่วนร่วมสอดแทรกไปกับความรู้ต่างๆ เพื่อให้เด็กนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปดำเนินการใช้ชีวิตต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รูปแบบ และกระบวนการการดำเนินงานกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพ
โรงเรียนประถมศึกษาและลดโอกาสการเกิดโรคฟันผุในเด็กนักเรียน
- เพื่อส่งเสริมการสร้างสุขนิสัยที่ถูกต้องในการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รูปแบบ และกระบวนการการดำเนินงานกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษาในรูปแบบเครือข่ายและมีการพัฒนารูปแบบกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพที่มีคุณภาพอย่างยั่งยืน
2.นักเรียนมีสุขนิสัยที่ถูกต้องในการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมคณะทำงานในการจัดทำโครงการ
วันที่ 20 กันยายน 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 20 คน
ผลลัพธ์ ได้แต่งตั้งคณะทำงานโครงการรร.เครือข่ายเด็กไทยฟันดี
20
20
2. อบรมให้ความรู้ และกิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทันตสุขภาพ
วันที่ 22 กันยายน 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต กลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้ 100 คน แต่มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 82 คน เนื่องจากระยะเวลาที่จัดทำโครงการอยู่ในช่วงที่บางโรงเรียนได้จัดกิจกรรมสอบปลายภาคทำให้กลุ่มเป้าหมายไม่ครบตามที่กำหนดไว้
ผลลัพธ์ จัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียน
1.การจัดการเรียนการสอนเรื่องทันตสุขภาพ
2. กิจกรรมการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์หลังอาหารกลางวัน
- เปิดเพลงนำประมาณ 2-5 นาที เพื่อให้นักเรียนเตรียมอุปกรณ์ การแปรงฟัน
- จัดให้มีผู้นำนักเรียนควบคุมการเข้าแถวเพื่อไปยังจุดแปรงฟัน
- นักเรียนแปรงฟันพร้อมกันตามเพลงประมาณ 5 นาที
- ผู้นำนักเรียนตรวจฟันและบันทึกผลหลังการแปรงฟัน
3. จัดเมนูอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายภายในโรงเรียน
4. จัดทำนวัตกรรมทันตสุขภาพ
100
82
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด ได้จัดทำโครงการโรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยฟันดี ประจำปีงบประมาณ 2560 เพื่อให้การดูแลสุขภาพร่างกายและสุขอนามัยในช่องปากจึงเป็นสิ่งที่ควรให้ความสำคัญแก่เด็กในวัยเรียนพร้อมกับการสอดแทรกความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และการดูแลสุขภาพช่องปากในรูปแบบที่เหมาะสมกับเด็กๆนั้น เพื่อให้เด็กนักเรียนได้ตระหนักเห็นว่าการดูแลสุขภาพร่างกายและสุขภาพในช่องปากนั้นเป็นเรื่องที่ทุกคนมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบ แล้วปรับเปลี่ยนปลูกฝังพฤติกรรมที่ถูกต้องและเหมาะสม
1. ประชุมคณะกรรมการ (ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข,ครูทุกโรงเรียนอย่างน้อยโรงเรียนละ 1 คน, อปท.,ผู้ปกครอง,ผู้นำชุมชน,คณะกรรมการสถานศึกษา ฯลฯ
2.กำหนดนโยบายการดำเนินงานส่งเสริมทันตสุขภาพของเครือข่ายร่วมกัน
3.จัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียน
3.1การจัดการเรียนการสอนเรื่องทันตสุขภาพ
3.2 กิจกรรมการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์หลังอาหารกลางวัน
- เปิดเพลงนำประมาณ 2-5 นาที เพื่อให้นักเรียนเตรียมอุปกรณ์ การแปรงฟัน
- จัดให้มีผู้นำนักเรียนควบคุมการเข้าแถวเพื่อไปยังจุดแปรงฟัน
- นักเรียนแปรงฟันพร้อมกันตามเพลงประมาณ 5 นาที
- ผู้นำนักเรียนตรวจฟันและบันทึกผลหลังการแปรงฟัน
3.3 จัดเมนูอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายภายในโรงเรียน
3.4 จัดทำนวัตกรรมทันตสุขภาพ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รูปแบบ และกระบวนการการดำเนินงานกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพ
โรงเรียนประถมศึกษาและลดโอกาสการเกิดโรคฟันผุในเด็กนักเรียน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถแปรงฟันถูกวิธี และมีผู้ป่วยป่วยด้วยโรคฟันผุไม่เพิ่มขึ้น
2
เพื่อส่งเสริมการสร้างสุขนิสัยที่ถูกต้องในการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถเลือกบริโภคอาหารได้ถูกต้องมีประโยชน์ต่อร่างกาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
100
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รูปแบบ และกระบวนการการดำเนินงานกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพ
โรงเรียนประถมศึกษาและลดโอกาสการเกิดโรคฟันผุในเด็กนักเรียน (2) เพื่อส่งเสริมการสร้างสุขนิสัยที่ถูกต้องในการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยฟันดี ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 23/60
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวมริณาแดงงาม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยฟันดี ประจำปีงบประมาณ 2560 ”
ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมริณาแดงงาม
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 23/60 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยฟันดี ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยฟันดี ประจำปีงบประมาณ 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยฟันดี ประจำปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 23/60 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กวัยเรียน เป็นวัยที่มีการเจริญเติบโตทางด้านร่างกายและจิตใจอย่างต่อเนื่อง เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการเข้าสู่วัยรุ่น จึงมีความต้องการพลังงานและสารอาหารค่อนข้างสูง เพื่อใช้ในการสร้างเซลล์และเนื้อเยื่อสำหรับการเจริญเติบโตและเพื่อให้อวัยวะต่างๆทำงานได้ปกติตลอดทั้งการประกอบกิจกรรมและการออกกำลังกาย โดยการได้รับอาหารครบ 5 หมู่ นอกจากการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์แล้ว การดูแลสุขอนามัยในช่องปากนับว่าเป็นเรื่องที่ควรให้ความสำคัญเช่นกัน เพราะว่านักเรียนระดับประถมศึกษาอยู่ในช่วงอายุ 6-12 ปี ซึ่งเป็นวัยที่มีฟันแท้ขึ้นใหม่ๆ ลักษณะรูปร่างฟันมีหลุมร่องลึกทำให้เกิดโรคฟันผุได้ง่ายจากอุปนิสัยของเด็กที่ชอบรับประทานของหวานตลอดจนมีข้อจำกัดในเรื่องความสามารถในการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเองล้วนเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคในช่องปากได้ง่ายจากผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 7 พ.ศ.2555โดยสำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขพบว่าเด็กอายุ 12 ปีเป็นโรคฟันผุ ร้อยละ 56.9 มีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด(DMFT) 1.6 ซี่ต่อคน และผลการสำรวจฟันผุในจังหวัดสตูล ในปี พ.ศ.2558พบว่าเด็กอายุ 12 ปีมีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด(DMFT) เท่ากับ 0.23 ซี่ต่อคน และผลการสำรวจฟันผุในโรงเรียนประถมศึกษาในเขตพื้นที่ตำบลคลองขุดพบว่า มีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด(DMFT) เท่ากับ1.82 ซี่ต่อคน ซึ่งมีแนวโน้มการเกิดโรคฟันผุมากกว่าในระดับจังหวัดและระดับประเทศ
การดูแลสุขภาพร่างกายและสุขอนามัยในช่องปากจึงเป็นสิ่งที่ควรให้ความสำคัญแก่เด็กในวัยเรียนพร้อมกับการสอดแทรกความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และการดูแลสุขภาพช่องปากในรูปแบบที่เหมาะสมกับเด็กๆนั้น เพื่อให้เด็กนักเรียนได้ตระหนักเห็นว่าการดูแลสุขภาพร่างกายและสุขภาพในช่องปากนั้นเป็นเรื่องที่ทุกคนมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบ แล้วปรับเปลี่ยนปลูกฝังพฤติกรรมที่ถูกต้องและเหมาะสม
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ได้เล็งเห็นปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการโรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยฟันดี ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุดเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และการดูแลสุขอนามัยในช่องปากมากขึ้น โดยจัดกิจกรรมเน้นการมีส่วนร่วมสอดแทรกไปกับความรู้ต่างๆ เพื่อให้เด็กนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปดำเนินการใช้ชีวิตต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รูปแบบ และกระบวนการการดำเนินงานกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพ โรงเรียนประถมศึกษาและลดโอกาสการเกิดโรคฟันผุในเด็กนักเรียน
- เพื่อส่งเสริมการสร้างสุขนิสัยที่ถูกต้องในการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รูปแบบ และกระบวนการการดำเนินงานกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษาในรูปแบบเครือข่ายและมีการพัฒนารูปแบบกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพที่มีคุณภาพอย่างยั่งยืน 2.นักเรียนมีสุขนิสัยที่ถูกต้องในการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมคณะทำงานในการจัดทำโครงการ |
||
วันที่ 20 กันยายน 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 20 คน ผลลัพธ์ ได้แต่งตั้งคณะทำงานโครงการรร.เครือข่ายเด็กไทยฟันดี
|
20 | 20 |
2. อบรมให้ความรู้ และกิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทันตสุขภาพ |
||
วันที่ 22 กันยายน 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต กลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้ 100 คน แต่มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 82 คน เนื่องจากระยะเวลาที่จัดทำโครงการอยู่ในช่วงที่บางโรงเรียนได้จัดกิจกรรมสอบปลายภาคทำให้กลุ่มเป้าหมายไม่ครบตามที่กำหนดไว้ ผลลัพธ์ จัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียน 1.การจัดการเรียนการสอนเรื่องทันตสุขภาพ 2. กิจกรรมการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์หลังอาหารกลางวัน - เปิดเพลงนำประมาณ 2-5 นาที เพื่อให้นักเรียนเตรียมอุปกรณ์ การแปรงฟัน - จัดให้มีผู้นำนักเรียนควบคุมการเข้าแถวเพื่อไปยังจุดแปรงฟัน - นักเรียนแปรงฟันพร้อมกันตามเพลงประมาณ 5 นาที - ผู้นำนักเรียนตรวจฟันและบันทึกผลหลังการแปรงฟัน 3. จัดเมนูอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายภายในโรงเรียน 4. จัดทำนวัตกรรมทันตสุขภาพ
|
100 | 82 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด ได้จัดทำโครงการโรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยฟันดี ประจำปีงบประมาณ 2560 เพื่อให้การดูแลสุขภาพร่างกายและสุขอนามัยในช่องปากจึงเป็นสิ่งที่ควรให้ความสำคัญแก่เด็กในวัยเรียนพร้อมกับการสอดแทรกความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และการดูแลสุขภาพช่องปากในรูปแบบที่เหมาะสมกับเด็กๆนั้น เพื่อให้เด็กนักเรียนได้ตระหนักเห็นว่าการดูแลสุขภาพร่างกายและสุขภาพในช่องปากนั้นเป็นเรื่องที่ทุกคนมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบ แล้วปรับเปลี่ยนปลูกฝังพฤติกรรมที่ถูกต้องและเหมาะสม
1. ประชุมคณะกรรมการ (ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข,ครูทุกโรงเรียนอย่างน้อยโรงเรียนละ 1 คน, อปท.,ผู้ปกครอง,ผู้นำชุมชน,คณะกรรมการสถานศึกษา ฯลฯ
2.กำหนดนโยบายการดำเนินงานส่งเสริมทันตสุขภาพของเครือข่ายร่วมกัน
3.จัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียน
3.1การจัดการเรียนการสอนเรื่องทันตสุขภาพ
3.2 กิจกรรมการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์หลังอาหารกลางวัน
- เปิดเพลงนำประมาณ 2-5 นาที เพื่อให้นักเรียนเตรียมอุปกรณ์ การแปรงฟัน
- จัดให้มีผู้นำนักเรียนควบคุมการเข้าแถวเพื่อไปยังจุดแปรงฟัน
- นักเรียนแปรงฟันพร้อมกันตามเพลงประมาณ 5 นาที
- ผู้นำนักเรียนตรวจฟันและบันทึกผลหลังการแปรงฟัน
3.3 จัดเมนูอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายภายในโรงเรียน
3.4 จัดทำนวัตกรรมทันตสุขภาพ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รูปแบบ และกระบวนการการดำเนินงานกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพ
โรงเรียนประถมศึกษาและลดโอกาสการเกิดโรคฟันผุในเด็กนักเรียน ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถแปรงฟันถูกวิธี และมีผู้ป่วยป่วยด้วยโรคฟันผุไม่เพิ่มขึ้น |
|
|||
2 | เพื่อส่งเสริมการสร้างสุขนิสัยที่ถูกต้องในการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถเลือกบริโภคอาหารได้ถูกต้องมีประโยชน์ต่อร่างกาย |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รูปแบบ และกระบวนการการดำเนินงานกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพ โรงเรียนประถมศึกษาและลดโอกาสการเกิดโรคฟันผุในเด็กนักเรียน (2) เพื่อส่งเสริมการสร้างสุขนิสัยที่ถูกต้องในการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยฟันดี ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 23/60
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวมริณาแดงงาม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......