กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา


“ โครงการสตรียุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ รู้ทันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ”

ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางภัทรพร รัตนซ้อน

ชื่อโครงการ โครงการสตรียุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ รู้ทันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

ที่อยู่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-2986-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสตรียุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ รู้ทันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสตรียุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ รู้ทันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสตรียุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ รู้ทันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-2986-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งปากมดลูกเป็นปัญหทางสาธารณสุขของโลก จากรายงานขององค์การวิจัยโรคมะเร็งนานชาติ (International Agency Research on Cancer : IARC) องค์การอนามัยโลก (WHO) ในปี พ.ศ. 2545 มีผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกระยะลูกลามรายใหม่ปีละ 493,243 คน และตายปีละ 273,505 คน และใน 5 ปีจะมีผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกอยู่ 1,409,285 คน ซึ่งจะต้องได้รับการรักษา ในประเทศไทย โรคมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบเป็นอับดับหนึ่งในสตรีไทย มีผู้ป่วยรายใหม่ประมาณปีละ 6,300 ราย พบมากที่สุดระหว่างอายุ 45-50 ปี ระยะที่พบส่วนใหญ่อยู่ในระระลุกลาม อัตราการอยู่รอด 5 ปี ประมาณร้อยละ 60 จึงมีผู้ป่วยสะสมจำนวนมาก คาดประมาณว่าจะมีผู้ป่วยรายใหม่และรายเก่าที่ต้องติดตามทำการดูแลรักษาอยู่ไม่น้อยกว่า 60,000 คนทั่วประเทศ แต่อัตราการอยู่รอด 5 ปี จะดีขึ้นถ้าพบในระยะเริ่มแรก โรคมะเร็งเต้านมนั้นเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญและเป็นโรคที่พบมากเป็นอันดับที่ 2 ของมะเร็งในหญิงไทยรองจากโรคมะเร็งปากมดลูก แต่เนื่องจากแนวโน้มของุบัติการณ์ที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงหลัง โดยจากอุบัติการณ์ของโรคมะเร็งเต้านมในหญิงไทยอยู่ที่ 20.5 รายต่อประชากร 100,000 คน ในปี พ.ศ.2553 เป็นต้นมา โรคมะเร็งเต้านมจึงกลายมาเป็นโรคมะเร็งที่พบบ่อยที่สุดจากสถิติผู้ป่วยมะเร็งของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ และล่าสุดสถิติสาธารณสุขของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ปี พ.ศ. 2554 พบว่าผู้หญิงไทยป่วยเป็นโรคมะเร็งเต้านมราใหม่ 34,539 คน เสียชีวิต 2,724 คน เฉลี่ยถึงวันละ 7 คน จากจำนวนประชากรไทยกว่าครึ่งที่เป็นเพศหญิง คือ 32,546,885 คน ทำให้มะเร็งเต้านมถือเป็นสาเหตุการป่วยและเสียชีวิตของผู้หญิงไทยมากเป้นอันดับ 1
ทั้งโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมสามารถดูแลป้องกันรักษาได้ในระยะแรกๆ และการป้องกันที่ดีที่สุด คือ การค้นหาผุ้ป่วยให้เร็วที่สุด ดังนั้น การให้ความรู้ การสร้างความตระหนักและการกระตุ้นให้เกิดการดูแลและการป้องกันตัวเองในระยะแรกเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพ ตลอดจนลดอัตราป่วยและตายของสตรีจากโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม สถานการณ์ปี 2558 ของศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนา พบว่า กลุ่มเป้าหมายในชุมชนได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ประมาณปีละ 40 ราย ซึ่งจัดได้ว่าน้อยมากส่วนการตรวจเต้านมด้วยตนเองเป็นการตรวจขั้นต้นนั้น สตรีส่วนใหญ่ยังตรวจไม่ถูกต้อง ดังนั้น ศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนา ได้เล็งเห็นความสำคัญของการค้นหาผู้ป่วยให้เร็วที่สุดจึงได้จัดทำ " โครงการสตรียุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ รู้ทันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปี 2560 " ขึ้น เพื่อค้นหามะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ในระยะเริ่มแรก เพื่อให้ครอบคลุมประชากรระดับหนึ่ง ซึ่งจะช่วยลดอัตราป่วยและอัตราด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และตระหนักในเรื่องของมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม และสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างต้อง 2. เพื่อค้นหาผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะแรก 3. เพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เกิดเครือข่ายต้านภัยมะเร็งในชุมชน และสามารถให้ความรู้เบื้องต้นแก่สตรีกลุ่มเป้าหมายได้
    2. สตรีกลุ่มเป้าหมายตระหนักถึงอันตรายของโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก และให้ความสนใจในการเข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก มากกว่า ร้อยละ 20
    3. ผู้ป่วยโรคมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูกระยะเริ่มต้นได้รับการรักษา
    4. อัตราป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมลดน้อยลง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

              มีการจัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายสตรีอายุ 30-60 ปี มีผู้ให้ความสนใจและเข้าร่วมรับฟังความรู้ได้ตามเป้าหมาย และมีการซักถามข้อสงสัยแสดงให้เห็นว่าได้รับความสนใจมากขึ้น

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และตระหนักในเรื่องของมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม และสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างต้อง 2. เพื่อค้นหาผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะแรก 3. เพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
    ตัวชี้วัด : 1. สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30-60 ปี ตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องและทำเป็นประจำมากกว่าร้อยละ 65 2. สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก มากกว่าร้อยละ 20 3. ผู้ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อการตรวจวินิจฉัยทีถูกต้อง ร้อยละ 100 4. ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งได้รับการรักษา ร้อยละ 100
    400.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และตระหนักในเรื่องของมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม และสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างต้อง  2. เพื่อค้นหาผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะแรก  3. เพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสตรียุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ รู้ทันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 60-2986-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางภัทรพร รัตนซ้อน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด