กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา


“ โครงการส่งเสริมการเรียนรู้การดูแลตนเองด้านสุขภาพแบบองค์รวมในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ”

ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางภัทรพรรัตนซ้อน

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการเรียนรู้การดูแลตนเองด้านสุขภาพแบบองค์รวมในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

ที่อยู่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-2986-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการเรียนรู้การดูแลตนเองด้านสุขภาพแบบองค์รวมในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการเรียนรู้การดูแลตนเองด้านสุขภาพแบบองค์รวมในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการเรียนรู้การดูแลตนเองด้านสุขภาพแบบองค์รวมในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-2986-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคเบาหวานที่สำคัญ คือ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมซึ่งส่วนมากเป็นปัจจัยที่เป็นผลจากพฤติกรรมสุขภาพ ได้แก่ การไม่ควบคุมน้ำหนัก ขาดการออกกำลังกาย บริโภคไม่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ รวมถึงการสูบบุหรี่และพฤติกรรมด้านความเครียด
ผลกระทบจากโรคเบาหวาน เมื่อมีโรคแทรกซ้อนเฉียบพลันและเรื้อรัง ได้แก่ โรคแทรกซ้อนเฉียบพลัน ได้แก่ ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ น้ำตาลในเลือดสูงรุนแรง โรคแทรกซ้อนเรื้อรัง เช่น โรคแทรกซ้อนเรื้อรังที่ตา ไต ระบบประสาท ปัญหาที่เท้า ตลอดจนกลุ่มโรคทางเมตาบอลิก อันมีโรคเบาหวานเป็นตัวการสำคัญ ซึ่งกำลังเป็นปัยหาและภาวะคุกคามมั่นคงความมั่นใจในสุขภาวะของประชาชนชาวไทยมากขึ้นทุกปี คุกคามทั้งคุณภาพชีวิต ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคแทรกซ้อนทางหลอดเลือดขนาดใหญ่ ร้อยละ 75 ตำบลตะโละแมะนาเห็นความสำคัญในการเฝ้าระวังให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีการจัดการและมีคุณภาพชีวิตที่ดี จึงมีการดำเนินงาน DHS คือ อำเภอจัดการสุขภาพระดับอำเภอ และตำบลตะโละแมะนาเป็นตำบลนำร่องในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยเบาหวาน เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยสามารถดูแลสุขภาพตนเองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนกันเอง โดยเริ่มดำเนินการตั้งแต่ ปี 2557-2559 และเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องของงาน DHS จึงต้องจัดการการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอในชุมชน จากการสำรวจข้อมูลผู้ป่วยเบาหวานในตำบลตะโละแมะนา ปี 2559 พบว่า มีผู้ป่วย จำนวน 43 ราย ขาดนัด จำนวน 8 ราย ควบคุมน้ำตาลไม่ได้ จำนวน 26 ราย ในปี 2559 มีผู้ป่วยเบาหวานเพิ่มขึ้นเป็น 56 ราย จากการดำเนินงานที่ผ่านมาแกนนำแบ่งกลุ่มผู้ป่วยตามกลุ่ม จราจร 7 สี พบว่าอยู่ในกลุ่ม มีภาวะแทรกซ้อน จำนวน 10 ราย และมีกลุ่มที่ปรับเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น บางรายก็สามารถรักษาระดับน้ำตาลไม่ให้เพิ่มขึ้นได้ โดยแยกการดูแลเป็นรายหมุ่บ่้าน ผลการดำเนินงาน ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนสัญลักษณ์สีไปทางที่ดีขึ้น ร้อยละ 10 , 10.20 , 8.51 ผู้ป่วยเปลี่ยนสัญลักษณ์สี แบบคงสภาพเดิม ร้อยละ 67.5 , 71.42 , 80.85 ,
ตำบลตะโละแมะนาเริ่มดำเนินการเป็นชุมชนนำร่องงานพัฒนาระบบสุขภาพระดับอำเภอในเรื่อง การดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ซึ่งมาดำเนินกิจกรรมมาอย่างต่อเนื่อง และจำเป็นต้องให้ผู้ป่วยเกิดการเรียนรู้ในการเฝ้าระวังสสุขภาพ และชุมชนให้ความสำคัญ เพื่อให้เกิดผลลัพธ์การดำเนินงานในพื้นที่ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.1 เพื่อค้นหาผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน ให้ได้รับการส่งต่อและรักษาอย่างเหมาะสม 1.2 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดตามสถานะปิงปองจราจร 7 สี ในระดับคงสภาพ และเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 56
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนได้รับการส่งต่อและรักษาอย่างเหมาะสม
    2. ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดตามสถานะปิงปองจราจร 7 สีในระดับคงสภาพ และเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น ร้อยละ 10

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    การดำเนินงาน แบ่งเป็น 2 กิจกรรม กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติ พบว่า             - เป้าหมาย ผู้ป่วยและญาตจำนวน 56 ราย มผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน ร้อยละ 100             - ผุ้ป่วยและญาติ สนใจในกิจกรรมและมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และทัศนคติของผู้ป่วยต่อโรคเบาหวาน             - แลกเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเอง เรื่อง 3 อ 2 ส ได้แก่ อาหาร อารมณ์ การออกกำลังกาย และ 2 ส คือ สารเสพติด บุหรี่ และสุรา             - ฝึกการปฏิบัติการออกกำลงกายและฝึกลมหายใจ เพื่อสมาธิและอารมณ์ของผู้ป่วย             - แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเรื่องการรับประทานอาหารในชีวิตประจำวัน พร้อมให้ความรู้เรื่องอาหารโซนสี กิจกรรมที่ 2 เวทีพบปะคืนข้อมูลและเรียนรู้สถานะสุขภาพตามแบบปิงปองจราจร 7 สี สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน 7 สี พบว่า             - กลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วยและญาติจำนวน 56 ราย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 56 ราย ร้อยละ 100             - ผู้ป่วยและญาติ สนใจในกิจกรรมปิงปองจราจร 7 สี พร้อมทั้งคืนข้อมูลผลการตรวจสุขภาพ จากโรงพยาบาล             - ชื่นชมผู้ที่สามารถควบคุมสถานะสุขภาพของตนเองได้ และให้กำลังใจผู้ป่วยที่ยังคงต้องเฝ้าระวังสุขภาพ แต่ยังคงต้องมีการเรียนรู้และช่วยกันระหว่างที่มแกนนำ ผู้ป่วยและญาติ ในการใช้เกณฑ์ผลการตรวจสุขภาพของตนเอง และนำไปเทียบสีสถานะสุขภาพ             - ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายและฝึกลมหายใจ เพื่อสมาธิและอารมณ์ของผู้ป่วย             - นำเสนอเรื่องเรื่องการส่งต่อกรณี ผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมเบาหวาน และอาการรุนแรงแก่ผู้ป่วยและญาติ

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.1 เพื่อค้นหาผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน ให้ได้รับการส่งต่อและรักษาอย่างเหมาะสม 1.2 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดตามสถานะปิงปองจราจร 7 สี ในระดับคงสภาพ และเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น
    ตัวชี้วัด :
    56.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 56
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 56
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)      1.1 เพื่อค้นหาผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน ให้ได้รับการส่งต่อและรักษาอย่างเหมาะสม  1.2 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดตามสถานะปิงปองจราจร 7 สี ในระดับคงสภาพ และเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมการเรียนรู้การดูแลตนเองด้านสุขภาพแบบองค์รวมในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 60-2986-07

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางภัทรพรรัตนซ้อน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด