กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ


“ โครงการรณรงค์คัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ”

ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางนูรีดาเจ๊ะย๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์คัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

ที่อยู่ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2516-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์คัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์คัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์คัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2516-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ของโรคมะเร็งปากมดลูก เป็นปัญหาทางสาธารณสุขของโลก โดยเฉพาะในประเทศที่กำลังพัฒนาในประเทศไทยโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นโรคมะเร็งที่พบเป็นอันดับหนึ่งในสตรีไทย พบมากที่สุดระหว่าง 45-50 ปี จากเหตุผลเบื้องต้น สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้กำหนดการดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นงานหลักให้กับทุกสถานบริการเร่งรัดการดำเนินการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 30 - 60 ปี ซึ่งในปีที่ผ่านมาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสาวอ ได้ดำเนินการคัดกรองและค้นหาผู้ป่วยตามนโยบาย เพียงร้อยละ ๒๕.๔ พบผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก ๑ ราย มะเร็งเต้านม ๒ ราย และปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ผลงานสะสมของการการตรวจมะเร็งปากมดลูกในสตรีวัยเจริญพันธ์ต้องได้รับการตรวจคัดกรอง ร้อยละ ๖๐ จากผลการดำเนินงานในปีที่ผ่านมา พบว่า เพราะประชาชนมีความตระหนักถึงความอันตรายของโรคมะเร็งปากมดลูกเพิ่มมากขึ้น แต่ยังขาดการให้ความร่วมมือในการตรวจรักษาภายใน เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายมีความเขินอายในการตรวจสุขภาพภายใน ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบลสาวอตระหนักถึงปัญหาและเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม จึงจำเป็นต้องให้ความรู้และกระตุ้นกลุ่มเสี่ยงและภาคีเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม โดยมุ่งหวังความสำเร็จให้สุขภาพของประชาชนในการคัดกรองและค้นหาผู้ป่วยมะเร็งโรคมะเร็งปากมดลูก/เต้านมให้เร็วที่สุด และสามารถดูแลรักษาและส่งต่อโรงพยาบาลได้ทันท่วงที

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.๑ เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ ๔๐
  2. 2 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ร้อยละ ๙๐
  3. 3 เพื่อให้เครือข่ายมีส่วนร่วมในการติดตามการดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ร้อยละ 90

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 210
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1 สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ ๔๐ 2 สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมร้อยละ ๙๐ 3 เกิดการเรียนรู้รูปแบบใหม่ๆในการจูงใจหรือติดตามให้สตรีกลุ่มเป้าหมายมาตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม 4 เครือข่ายมีส่วนร่วมในการดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. จัดประชุมผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชนและอาสาสมัครสาธารณสุข ,กลุ่มเป้าหมายตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม

    วันที่ 26 ธันวาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปผลการดำเนินโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ก่อนดำเนินโครงการ/กิจกรรมพบว่ากลุ่มเป้าหมายในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสาวอ ส่วนใหญ่ให้ความสำคัญเกี่ยวกับการดูแลตรวจสุขภาพของตนเองในเรื่องการตรวจเต้านม น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ และตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก น้อยกว่าร้อยละ ๔๐ สังเกตได้จากข้อมูลการมารับบริการในช่วงเดือน ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ ถึง ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๐ พบว่าผู้บริการมารับบริการการตรวจมะเร็งเต้านมเพียงร้อยละ ๕๐ และมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ ๑๐  เนื่องจากภาคีเครือข่ายมีการเชิญชวน ประชาสัมพันธ์และโน้มน้าวผู้มารับบริการค่อนข้างน้อย ประกอบกับกลุ่มเป้าหมายมีความเขินอายและไม่กล้าขอคำปรึกษาในเรื่องอวัยวะสำคัญของเพศหญิง เนื่องจากตนเองยังไม่มีอาการเจ็บป่วยหรือพบความผิดปกติใดๆในร่างกาย      และยังสามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติจึงไม่จำเป็นต้องตรวจสุขภาพแบบเร่งด่วน หลังจากดำเนินโครงการให้ความรู้ ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุขเพื่อฟื้นฟูความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม  สอนวิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม รวมทั้งแลกเปลี่ยนเทคนิคการพูดและการโน้มน้าวกลุ่มเป้าหมายให้มาตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูกร่วมกัน ทำให้มีประชาชนและกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ให้การตอบรับคำเชิญชวนและยินยอมเข้าร่วมรับฟังโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและปากมดลูกร้อยละ ๑๐๐ ยินยอมให้เจ้าหน้าที่ร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขคัดกรองมะเร็งเต้านมได้มากขึ้น คือ ร้อยละ ๙๕ ซึ่งบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ คือ กลุ่มเป้าหมายต้องได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านมร้อยละ ๙๐ และยินยอมให้เจ้าหน้าที่ตรวจมะเร็งปากมดลูกได้ร้อยละ ๒๕ แต่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ที่วางไว้ คือได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกไม่ถึง ร้อยละ ๔๐ เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายที่เหลือส่วนใหญ่เป็นกลุ่มที่ปฏิเสธการรับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยเหตุผลและขีดจำกัดมากมายเช่น ไม่สะดวกมารับบริการในวันที่ให้บริการ ไปรับบริการแล้วเจ้าหน้าที่ติดประชุม ไม่ยินยอมทำการตรวจเนื่องจากสามีไม่อนุญาตและด้วยเหตุผลอื่นๆอีกมากมาย แต่ทั้งนี้ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสาวอร่วมกับภาคีเครือข่ายก็มิอาจหยุดความพยายามและโน้มน้าวและประชาสัมพันธ์กลุ่มเป้าหมายโดยมีแผนให้บริการเชิงรุกตามบ้าน และคาดว่าจะมีผู้ยินยอมรับการตรวจมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ที่กำหนดต่อไป

    ข้อเสนอแนะในการดำเนินงานโครงการเพื่อการพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น ควรมีการจัดดำเนินงานและให้ความสำคัญเกี่ยวกับการให้ความรู้ ติดตามและกระตุ้นให้มารับบริการอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ ทีมงานเครือข่ายในชุมชนควรเป็นเสาหลักของชุมชน เพื่อเป็นฝ่ายขับเคลื่อนการดำเนินงาน/กิจกรรม และร่วมกันติดตาม ดูแล ให้ความสำคัญต่อสุขภาพขั้นพื้นฐานร่วมกับบุคลากรในหน่วยบริการอย่างต่อเนื่อง
    

     

    130 210

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ผลการดำเนินงาน

    ผลการดำเนินโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ก่อนดำเนินโครงการ/กิจกรรมพบว่ากลุ่มเป้าหมายในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสาวอ ส่วนใหญ่ให้ความสำคัญเกี่ยวกับการดูแลตรวจสุขภาพของตนเองในเรื่องการตรวจเต้านม น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ และตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
    

    น้อยกว่าร้อยละ ๔๐ สังเกตได้จากข้อมูลการมารับบริการในช่วงเดือน ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ ถึง ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๐ พบว่าผู้บริการมารับบริการการตรวจมะเร็งเต้านมเพียงร้อยละ ๕๐ และมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ ๑๐  เนื่องจากภาคีเครือข่ายมีการเชิญชวน ประชาสัมพันธ์และโน้มน้าวผู้มารับบริการค่อนข้างน้อย ประกอบกับกลุ่มเป้าหมายมีความเขินอายและไม่กล้าขอคำปรึกษาในเรื่องอวัยวะสำคัญของเพศหญิง เนื่องจากตนเองยังไม่มีอาการเจ็บป่วยหรือพบความผิดปกติใดๆในร่างกาย      และยังสามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติจึงไม่จำเป็นต้องตรวจสุขภาพแบบเร่งด่วน หลังจากดำเนินโครงการให้ความรู้ ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุขเพื่อฟื้นฟูความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม สอนวิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม รวมทั้งมีการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับเทคนิคการพูดและการโน้มน้าวกลุ่มเป้าหมายให้มาตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูกร่วมกัน ทำให้มีประชาชนและกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ให้การตอบรับคำเชิญชวนและยินยอมเข้าร่วมรับฟังโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและปากมดลูกร้อยละ ๑๐๐ ยินยอมให้เจ้าหน้าที่ร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขคัดกรองมะเร็งเต้านมได้มากขึ้น คือ ร้อยละ๙๕ ซึ่งบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ คือ กลุ่มเป้าหมายต้องได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านมร้อยละ ๙๐ ยินยอมให้เจ้าหน้าที่ตรวจมะเร็งปากมดลูกร้อยละ ๒๕ แต่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ที่วางไว้ คือได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกไม่ถึง ร้อยละ ๔๐ เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายที่เหลือส่วนใหญ่เป็นกลุ่มที่ปฏิเสธการรับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยเหตุผลและขีดจำกัดมากมาย ไม่สะดวกมารับบริการในวันที่ให้บริการ ไปรับบริการแล้วเจ้าหน้าที่ติดประชุม ไม่ยินยอมทำการตรวจเนื่องจากสามีไม่อนุญาตและด้วยเหตุผลอื่นๆอีกมากมาย แต่ทั้งนี้ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสาวอร่วมกับภาคีเครือข่ายก็มิอาจหยุดความพยายามและโน้มน้าวและประชาสัมพันธ์กลุ่มเป้าหมายโดยมีแผนให้บริการเชิงรุกตามบ้าน และคาดว่าจะมีผู้ยินยอมรับการตรวจมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ที่กำหนดต่อไป

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑.๑ เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ ๔๐
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ร้อยละ ๙๐
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3 เพื่อให้เครือข่ายมีส่วนร่วมในการติดตามการดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ร้อยละ 90
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 210
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 210
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.๑ เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ ๔๐ (2) 2 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ร้อยละ ๙๐ (3) 3 เพื่อให้เครือข่ายมีส่วนร่วมในการติดตามการดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ร้อยละ 90

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรณรงค์คัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L2516-1-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนูรีดาเจ๊ะย๊ะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด