กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน


“ โครงการป้องกัน ระงับโรคติดต่อนำโดยแมลง ตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2562 ”

ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางฮอดีย๊ะ ตะหวัน ประธานกลุ่มป้องกันและควบคุมโรคตำบลบ้านควน

ชื่อโครงการ โครงการป้องกัน ระงับโรคติดต่อนำโดยแมลง ตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5307-5-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 31 ธันวาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกัน ระงับโรคติดต่อนำโดยแมลง ตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2562 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกัน ระงับโรคติดต่อนำโดยแมลง ตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกัน ระงับโรคติดต่อนำโดยแมลง ตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5307-5-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 31 ธันวาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 57,920.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้ปวดข้อยุงลายหรือชิคุนกุนยา (Chikungunya fever) จากการรายงานในระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 - 2560 พบผู้ป่วยสูงสุดในปี พ.ศ. 2557 จ านวน 190 ราย อัตราป่วย 0.29
ต่อประชากรแสนคน แต่ในปี พ.ศ. 2558 - 2560 ผู้ป่วยลดลงอย่างต่อเนื่องและลดลงตำ่สุดในปี พ.ศ. 2560 จำนวน 10 ราย อัตราป่วย 0.01 ต่อประชากรแสนคน ยังไม่รายงานผู้เสียชีวิตจากโรคนี้ ข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2561 – 20 พฤศจิกายน 2561 พบผู้ป่วยสะสม 890 ราย อัตราป่วย 1.35 ต่อประชากรแสนคน สูงกว่าในรอบ 5 ปีที่ผ่านมาถึง 37 เท่า เป็นผู้ป่วยเพศหญิง 552 ราย เพศชาย 338 ราย อัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิงเท่ากับ 1 : 1.63 พบผู้ป่วยได้ทุกกลุ่มอายุ ส่วนใหญ่อยู่ในวัยทำงานและสูงสุดใน กลุ่มอายุ 10 – 14 ปี อัตราป่วย 2.45 ต่อประชากรแสนคน รองลงมาคืออายุ30 -34 ปี (2.01)อายุ25 -29ปี(1.96) อายุ 20 – 24 ปี (1.86) และ 35 - 39 ปี(1.66) ตามลำดับ ประกอบอาชีพรับจ้างหรือกรรมกรมากที่สุด ร้อยละ 35.73 รองลงมาคือนักเรียน (26.63) และงานบ้าน (12.92) สัปดาห์ที่ (14 -20 พฤศจิกายน 2561) มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้ปวดข้อยุงลายรายใหม่จ านวน 248ราย จาก 8 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร ภูเก็ต สงขลา สตูล ตรัง พัทลุง ปัตตานี และนราธิวาส ผู้ป่วยส่วนใหญ่อยู่ในภาคใต้ อัตราป่วย 9.43 ต่อประชากรแสนคน ได้แก่ จังหวัดสตูล นราธิวาส สงขลา ภูเก็ต และตรัง อัตราป่วย 68.83, 28.29, 25.85, 5.67 และ 3.74 ต่อประชากรแสนคนตามลำดับและพบมากในช่วงฤดูฝนตามจำนวนประชากรยุงมีรายงานผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องตั้งแต่เดือน พฤษภาคมและสูงสุดในเดือนพฤศจิกายน ร้อยละ 28.20 รองลงมาคือเดือนตุลาคม (24.27) สิงหาคม (14.61) และกันยายน (11.24)
จำนวนและอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนโรคไข้ปวดข้อยุงลาย รายจังหวัดและอ าเภอที่พบผู้ป่วย พ.ศ. 2561จังหวัดสตูล พบผู้ป่วยในเขตอำเภอเมืองสตูล ควนโดน ท่าแพ ละงู ทุ่งหว้า จำนวน 221อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน 68.83 สถานการณ์โรคไข้ปวดข้อยุงลายสัปดาห์นี้ยังคงระบาดในพื้นที่ภาคใต้ และพบประปรายบางจังหวัดในภาคกลางและภาคตะวันออกของประเทศไทย โดยพบว่า ตั้งแต่เดือนมกราคมถึงพฤศจิกายน พ.ศ. 2561 มี ผู้ป่วยถึง 890 รายและมีแนวโน้มการระบาดเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ดังนั้นจึงควรมีมาตรการและการเฝ้าระวังโรคโดยเฉพาะในกลุ่มวัยทำงานที่มีความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ รับจ้างหรือเกษตรกรรมที่พบมีการรายงานสูงกว่ากลุ่มวัยอื่นๆ ปัจจัยส าคัญที่ทำให้เกิดการระบาดของโรค ไข้ปวดข้อยุงลายคือยุงพาหะนำโรค ดังนั้นการการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงยังคงเป็นมาตรการที่ต้องเน้นยำ้ และให้ความสำคัญและเพื่อควบคุมการระบาดของโรคนอกจากการเฝ้าระวังและคัดกรองกลุ่มเสี่ยงแล้ว การสื่อสาร ให้ประชาชนตระหนักในการป้องกันตนเองจากการถูกยุงกัด เช่น การสวมเสื้อแขนยาวขายาว ทายากันยุง เป็นต้น
จากสถานการณ์ข้างต้นอาจคาดการณ์ว่าในปี 2562 อาจมีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลาย ตลอดทั้งปีจึงจำเป็นต้องมีมาตรการเฝ้าระวังป้องกันควบคุม เตรียมทั้งด้านงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ เพื่อความพร้อมในการดำเนินงาน กลุ่มป้องกันควบคุมโรคตำบลบ้านควน จึงขอแสนอโครงการป้องกันควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ2562 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลาย
  2. เพื่อลดจำนวนประชากรยุงลายที่เป็นสาเหตุของโรคไข้เลือดออกในสถานศึกษา
  3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการป้องกัน ระงับโรคติดต่อนำโดยแมลง ทุกภาคส่วนในตำบล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ป้องกันและระงับโรคติดต่อนำโดยแมลง
  2. ประชุมเครือข่ายสุขภาพตำบลบ้านควน
  3. ประชุมทำความเข้าใจร่วมกันของภาคีในการทำงานป้องกัน ระงับโรคในชุมชน
  4. ฟื้นฟูทักษะทีมงานพ่นสารเคมี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 11,022
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ประชากรในพื้นที่ตำบลบ้านควน 11,022

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สามารถควบคุมและระงับโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลายในพื้นที่ตำบลบ้านควน
  2. ประชาชนให้ความร่วมมือในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในครัวเรือน
  3. เครือข่ายสุขภาพตำบล มีส่วนร่วมในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลาย อย่างต่อเนื่อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ป้องกันและระงับโรคติดต่อนำโดยแมลง

วันที่ 1 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ทีมพ่นปฏิบัติงานพ่นสารเคมี ในบ้านผู้ป่วย และระแวกบ้านเป็นระยะทางไม่น้อยกว่า 100 เมตร จำนวนผู้ป่วยเข้าข่ายสงสัย จำนวน 30 คน
พ่นสารเคมีในสถานศึกษาก่อนเปิดภาคเรียน ในพื้นที่ จำนวน  9 แห่ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ปฏิบัติตามแผนงานที่กำหนดไว้ พ่นบริเวณบ้านผู้ป่วยระยะทางประมาณ 100 เมตร  พ่นจำนวน 2 ครั้ง ห่างกัน 1 สัปดาห์เพื่อฆ่ายุงตัวแก่

 

11,022 0

2. ประชุมทำความเข้าใจร่วมกันของภาคีในการทำงานป้องกัน ระงับโรคในชุมชน

วันที่ 24 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมพูดคุย ปัญหา อุปสรรค ในการทำงานป้องกันควบคุมโรคนำโดยแมลงระดับตำบล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมเครือข่ายภาค จำนวน 2 ครั้ง ๆละ 50 คน ได้แก่
วันที่ 24 กค 62  และวันที่ 5 สค 62

 

50 0

3. ฟื้นฟูทักษะทีมงานพ่นสารเคมี

วันที่ 25 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมพัฒนาศักยภาพ ทีมพ่นสารเคมี และทีม อสม. เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก
เทคนิคการผสมน้ำยา การดูแลรักษาเครื่องพ่น เทคนิคการพ่นที่ถูกวิธี
บทบาทหน้าที่การทำงานร่วมกันระหว่าง อสม. ทีมพ่น เจ้าหน้าที่รพสต.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วม จำนวน 14 คน

 

10 0

4. ประชุมเครือข่ายสุขภาพตำบลบ้านควน

วันที่ 23 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ไม่ได้ดำเนินการประชุม เนื่องจากปีนี้มีการระบาดน้อยกว่าปีที่ผ่านมา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ไม่ได้ดำเนินการประชุม

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ดำเนินกิจกรรมได้ทุกกิจกรรม ยกเว้นกิจกรรมประชุมเครือข่ายสุขภาพระดับตำบล เนื่องจากปีนี้พบจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวนราย ทำให้ไม่ได้จัดกิจกรรมประชุมเครือข่ายสุขภาพระดับตำบลอย่างเป็นทางการ แต่เปลี่ยนเป็นการพูดคุยในเวทีอื่นๆของชุมชนแทน เช่น ประชุมเครือข่าย อสม. ประชุมกำนันผู้ใหญ่บ้าน เป็นต้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลาย
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ไม่เกิน 50 ต่อ แสนประชากร
0.00 9.00

ของตำบลทั้งหมด​ 33​ รายแยกเป็น
1.จากE1 คือเข้าข่ายสงสัยไม่รายงานผป.DF​ ทั้งหมด​ 32ราย​คิดเป็นอัตราป่วยต่อแสนประชากร​ 297.11 แยกควน1เป็น​ 20รายเป็นE1​ 19ราย​ อัตราป่วย​ 254.66และ506​ 1รายคิดอัตาป่วย​ 13.40
2. รพสต.บ้านควน2​ E1​ 13รายคิดอัตราป่วย​ 356.56และ รง.506ไม่มีรายงาน 3.รง.506​ รายงานทางระบาดวิทยา​ 1​ ราย​ คิดเป็นอัตราป่วยต่อแสนประชากร​ 9.00 3.ปชก​ ทั้งตำบล​ 11107 ควน1​ 7461คน,​ ควน2​ 3646 คน  รง.506 อัตราป่วยตำบล​ คือ​ 9.0

2 เพื่อลดจำนวนประชากรยุงลายที่เป็นสาเหตุของโรคไข้เลือดออกในสถานศึกษา
ตัวชี้วัด : พ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวแก่ในสถานศึกษาอย่างน้อย 1 ครั้ง ต่อ ปี (สถานศึกษาในพื้นที่ จำนวน 8 แห่ง)
8.00 8.00

 

3 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการป้องกัน ระงับโรคติดต่อนำโดยแมลง ทุกภาคส่วนในตำบล
ตัวชี้วัด : มีการประชุมเครือข่ายสุขภาพระดับตำบล อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
1.00 0.00

แต่มีการพูดคุยในเวทีประชุมเครือข่าย อสม. กำนันผู้ใหญ่บ้านแทน เนื่องจากปีนี้ มรจำนวนผู้ป่วยน้อยราย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 22044
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 11,022
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ประชากรในพื้นที่ตำบลบ้านควน 11,022

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลาย (2) เพื่อลดจำนวนประชากรยุงลายที่เป็นสาเหตุของโรคไข้เลือดออกในสถานศึกษา (3) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการป้องกัน ระงับโรคติดต่อนำโดยแมลง ทุกภาคส่วนในตำบล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ป้องกันและระงับโรคติดต่อนำโดยแมลง (2) ประชุมเครือข่ายสุขภาพตำบลบ้านควน (3) ประชุมทำความเข้าใจร่วมกันของภาคีในการทำงานป้องกัน ระงับโรคในชุมชน (4) ฟื้นฟูทักษะทีมงานพ่นสารเคมี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกัน ระงับโรคติดต่อนำโดยแมลง ตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2562 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5307-5-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฮอดีย๊ะ ตะหวัน ประธานกลุ่มป้องกันและควบคุมโรคตำบลบ้านควน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด