กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด


“ โครงการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อน เฉลิมพระเกียรติฯสมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ”

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางรอปีเยาะโตะอาดัม

ชื่อโครงการ โครงการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อน เฉลิมพระเกียรติฯสมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐

ที่อยู่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 มีนาคม 2560 ถึง 20 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อน เฉลิมพระเกียรติฯสมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อน เฉลิมพระเกียรติฯสมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อน เฉลิมพระเกียรติฯสมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 มีนาคม 2560 - 20 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กรมควบคุมโรคโดยสถาบันราชประชาสมาสัยได้น้อมนำพระราชปณิธานแห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นประทีปนำทางที่จะให้โรคเรื้อนหมดไปจากประเทศไทย ทุกๆปี กรมควบคุมโรค ร่วมกับมูลนิธิราชประชาสมาสัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ จัดโครงการ “20ปีแห่งความสำเร็จของการกำจัดโรคเรื้อนสมดังพระราชปณิธาน” สถาบันราชประชาสมาสัย และ มูลนิธิราชประชาสมาสัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ น้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของทุกพระองค์ที่ทรงมีเมตตาต่อผู้ป่วยโรคเรื้อนและงานควบคุมโรคเรื้อนมาโดยตลอด ในปีนี้จึงได้กำหนดจัดกิจกรรมเร่งรัดค้นหาผู้ป่วยที่ยังตกค้างอยู่ในชุมชนเพื่อกำจัดโรคเรื้อนในหมดไปอย่างสิ้นเชิงโดยกระตุ้นให้อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) หน่วยงานสาธารณสุขอื่นๆ รวมถึงประชาชนทุกภาคส่วน เฝ้าสังเกตสมาชิกในครอบครัว หรือชุมชนของตน หากพบอาการสงสัยเป็นโรคเรื้อน คือ ผิวหนังเป็นวงด่าง มีอาการชา หรือผิวหนังเป็นผื่น ตุ่มนูนแดง ไม่เจ็บ ไม่คัน ให้เข้ารับการตรวจวินิจฉัยได้ที่สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯตำบล โรงพยาบาลทุกแห่งทั่วประเทศเพื่อให้การรักษาและฟื้นฟูสภาพจนผู้ป่วยสามารถกลับไปใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียม สถานการณ์โรคเรื้อน ในตำบลปูยุด อำเภอเมืองปัตตานีปี 255๙ มีผู้ป่วยโรคเรื้อน ระยะเฝ้าระวัง จำนวน จำนวนทั้งสิ้น 2 ราย ซึ่งเป็นผู้ป่วยในวัยเด็กจำนวน 1 ราย และจากการดำเนินงานสำรวจและค้นหาผู้ที่เป็นโรคผิวหนัง แล้วรักษาไม่หาย โดยอาสาสมัครสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ในปี ๒๕๕๙ พบคนไข้รายใหม่อีก ๑ รายซึ่งแสดงถึงการเกิดการระบาดในชุมชน ซึ่งมีความจำเป็นที่ต้องมีการค้นหา เพื่อกวาดล้างโรคเรื้อนให้หมดจากพื้นที่
สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯตำบลปูยุด จึงขอเชิญชวนประชาชนร่วมมือกันทำให้โรคเรื้อนหมดไปจากประเทศไทย สมดังพระราชปณิธาน ด้วยการแนะนำให้ผู้ป่วยโรคเรื้อนที่ยังไม่รู้ตัวให้รีบไปรับการรักษา และขอให้ประชาชนสำรวจตนเอง คนในครอบครัว หรือชุมชน หากมีอาการน่าสงสัย ได้แก่ ผิวหนังเป็นวงด่าง สีขาวหรือสีแดง มีอาการชา เป็นผื่น ตุ่มนูนแดง ไม่คัน ไม่เจ็บ ใช้ยากินหรือยาทา 3 เดือนแล้วไม่หาย ให้รีบไปพบแพทย์ หากวินิจฉัยเป็นโรคเรื้อน สามารถรักษาฟรีได้ที่โรงพยาบาลของรัฐทุกแห่งทั่วประเทศเมื่อกล่าวถึง โรคเรื้อน ในอดีต มีผู้คนเจ็บป่วยด้วยโรคนี้เป็นจำนวนมากด้วยพระบารมีปกเกล้า ฯ การควบคุมโรคเรื้อนในประเทศไทยจึงมีการพัฒนาและประสบความสำเร็จจนสามารถกำจัดโรคเรื้อนได้ ในการนี้ สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯตำบลปูยุด จึงได้จัดทำ โครงการโครงการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อน
เฉลิมพระเกียรติฯสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐เพื่อประชาสัมพันธ์ สร้างกระแส ให้ประชาชนเกิดความตระหนักในการเข้ารับการตรวจรักษาได้อย่างทันท่วงที และเพื่อเป็นการคัดกรองประชาชนให้ได้รับการรักษาอย่างทั่วถึง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกครัวเรือนมีความรู้ความเข้าใจและร่วมมือในการควบคุมป้องกันและได้รับการตรวจรักษา อย่างทันท่วงทีและต่อเนื่อง
  2. เพื่อส่งเสริมให้เครือข่ายตระหนักในการสำรวจ และค้นหาผู้ป่วยด้วยโรคผิวหนัง
  3. เพื่อเป็นการสร้างกระแส และเฝ้าระวัง ควบคุมโรคในพื้นที่ ลดอัตราการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 110
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1 ประชาชนทุกครัวเรือนมีความรู้ความเข้าใจและร่วมมือในการควบคุมป้องกันโรคและเกิดการเฝ้าระวัง
    ในครอบครัว 2 ประชาชนได้รับการตรวจคัดกรองเพิ่มขึ้น สามารถลดอัตราการเกิดโรค และเกิดภาวะแทรกซ้อนของ โรคผิวหนัง 3 ประชาชนรับรู้ถึงสถานการณ์การเกิดโรค มีความตระหนักและเกิดการตื่นตัว และสนใจในการตรวจคัด กรองเพิ่มขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมตามเป้าหมายที่วางไว้ รายละเอียดค่าใช้จ่าย -ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ จำนวน 3 ผืน เป็นเงิน 2,100บาท -ค่าอาหารกลางวัน , ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม กิจกรรมประชุมชี้แจง จำนวน60คน100บาท เป็นเงิน6,000บาท -ค่าอาหารกลางวัน , ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม กิจกรรมร่วมสำรวจ ค้นหาฯ จำนวน2รุ่น55คน*100บาท เป็นเงิน11,000บาท

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกครัวเรือนมีความรู้ความเข้าใจและร่วมมือในการควบคุมป้องกันและได้รับการตรวจรักษา อย่างทันท่วงทีและต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อส่งเสริมให้เครือข่ายตระหนักในการสำรวจ และค้นหาผู้ป่วยด้วยโรคผิวหนัง
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อเป็นการสร้างกระแส และเฝ้าระวัง ควบคุมโรคในพื้นที่ ลดอัตราการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 110
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกครัวเรือนมีความรู้ความเข้าใจและร่วมมือในการควบคุมป้องกันและได้รับการตรวจรักษา อย่างทันท่วงทีและต่อเนื่อง (2) เพื่อส่งเสริมให้เครือข่ายตระหนักในการสำรวจ และค้นหาผู้ป่วยด้วยโรคผิวหนัง (3) เพื่อเป็นการสร้างกระแส และเฝ้าระวัง ควบคุมโรคในพื้นที่ ลดอัตราการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อน เฉลิมพระเกียรติฯสมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางรอปีเยาะโตะอาดัม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด