กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการเครือข่ายสตรีร่วมใจตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและเต้านม เฉลิมพระเกียรติฯสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด


“ โครงการเครือข่ายสตรีร่วมใจตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและเต้านม เฉลิมพระเกียรติฯสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ”

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางรอปีเยาะโตะอาดัม

ชื่อโครงการ โครงการเครือข่ายสตรีร่วมใจตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและเต้านม เฉลิมพระเกียรติฯสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐

ที่อยู่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 เมษายน 2560 ถึง 28 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเครือข่ายสตรีร่วมใจตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและเต้านม เฉลิมพระเกียรติฯสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเครือข่ายสตรีร่วมใจตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและเต้านม เฉลิมพระเกียรติฯสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเครือข่ายสตรีร่วมใจตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและเต้านม เฉลิมพระเกียรติฯสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 เมษายน 2560 - 28 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็ง นับเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของคนไทย มีผู้เสียชีวิตจัดเป็นอันดับหนึ่ง รองลงมา คือ อุบัติเหตุและโรคหัวใจ ตามลําดับกลุ่มภารกิจด้านข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สํานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข แนวโน้มมีอุบัติการณ์การเกิดโรคมะเร็งเพิ่มสูงขึ้น จากสถิติพบว่า ๕ อันดับแรก ของโรคมะเร็ง ที่พบมากที่สุด ในเพศชาย และเพศหญิง ได้แก่ มะเร็งตับ มะเร็งปอด มะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนัก มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก บางอย่างสามารถป้องกันได้ ปัญหาดังกล่าวก่อให้เกิดความสูญเสียทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และทางด้านเศรษฐกิจ เป็นอย่างมาก แต่จะสามารถป้องกันและรักษาให้หายขาดได้ถ้าพบผู้ป่วยโรคมะเร็งในระยะเริ่มแรก หากประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และมีความเข้าใจ ตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการตรวจค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรกก็จะทำให้อัตราการเกิดโรค อัตราการป่วยและอัตราการตายลดลง กระทรวงสาธารณสุข ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้บรรจุแผนงาน/โครงการ เกี่ยวกับโรคดังกล่าว ขึ้น โดยกำหนดตัวชี้วัดไว้ คือ ร้อยละ ๘๐ ของสตรีที่มีอายุ ๓๐-๖๐ ปีต้องได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกทุกปี ร้อยละ ๘๐ ของสตรีที่มีอายุ ๓๐-๗๐ ปี ต้องได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ภายใน ๕ ปี(ตั้งแต่ปีงบประมาณ๒๕๕๘-๒๕๖๒) โดยตั้งเป้าหมายให้มีการตรวจคัดกรองฯ ในแต่ละปีไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๒๐
จากข้อมูล สํานักนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ในหลายปีที่ผ่านมา พบว่า อัตราป่วย และอัตราตายของโรคมะเร็งปากมดลูกและเต้านม แนวโน้มเพิ่มขึ้น ปัจจุบัน มะเร็งเต้านมขึ้นเป็นอันดับ ๑ ของมะเร็งที่เกิดขึ้นกับหญิงไทยแทนมะเร็งปากมดลูก การตรวจวินิจฉัยและให้การรักษาผู้ที่มีความผิดปกติของปากมดลูกตั้งแต่ระยะก่อนเป็นมะเร็งตามขั้นตอนที่ถูกต้องเหมาะสม สามารถลดอุบัติการณ์และอัตราการตายของโรคมะเร็งปากมดลูกได้เนื่องจากมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็ง ที่สามารถตรวจพบได้ตั้งแต่เซลล์เริ่มผิดปกติโดยการทำPapsmear หรือ VIA (VisualInspectionofcervixwithAceticacid)ประกอบกับการดำเนินโรคเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป จะสามารถรักษาให้หายขาดได้โดยการรักษาตามระบบและการจี้เย็น (Cryotherapy) ในปี ๒๕๕๗-ปี ๒๕๕๙ สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯตำบลปูยุด อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ตรวจพบผู้ที่มีก้อนที่เต้านม จำนวน ๒ ราย และส่งต่อเพื่อตรวจวินิจฉัย ผลการตรวจผิดปกติและได้รับการผ่าตัดรักษาที่โรงพยาบาลปัตตานี จำนวน ๒ ราย การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกพบกลุ่มเสี่ยงส่งต่อจำนวน ๓ ราย แต่ไม่พบผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯตำบลปูยุด อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี เล็งเห็นความสำคัญจึงจัดทำโครงการเครือข่ายสตรีร่วมใจตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและเต้านมขึ้น เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เครือข่ายสตรีในชุมชนชักชวนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่มารับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
  2. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษา
  3. เพื่อค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก
  4. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมระยะลุกลาม และลดอัตราการตายจากมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมอย่างทั่วถึง ๒. สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ เกี่ยวกับโรค มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ๓.ส่งต่อผู้ป่วยไปรักษาอย่างถูกวิธี ในกรณีตรวจพบผิดปกติ ๔.กลุ่มเป้าหมายมารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกไม่น้อยกว่าร้อยละ ๒๐/ปี ๕.กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และมีความเข้าใจ ตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการตรวจค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรกซึ่งจะทำให้อัตราการเกิดโรค อัตราการป่วยและอัตราการตายลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมบรรลุตามที่วางไว้

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้เครือข่ายสตรีในชุมชนชักชวนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่มารับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษา
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก
    ตัวชี้วัด :

     

    4 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมระยะลุกลาม และลดอัตราการตายจากมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เครือข่ายสตรีในชุมชนชักชวนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่มารับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม (2) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษา (3) เพื่อค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก (4) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมระยะลุกลาม และลดอัตราการตายจากมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเครือข่ายสตรีร่วมใจตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและเต้านม เฉลิมพระเกียรติฯสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางรอปีเยาะโตะอาดัม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด