กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ


“ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ด้วยการเดิน วิ่ง กินอาหารคลีน ตำบลดุซงญอ ”

ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายมาหามะ เจ๊ะเเต

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ด้วยการเดิน วิ่ง กินอาหารคลีน ตำบลดุซงญอ

ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2476-2-43 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 กันยายน 2562 ถึง 14 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ด้วยการเดิน วิ่ง กินอาหารคลีน ตำบลดุซงญอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ด้วยการเดิน วิ่ง กินอาหารคลีน ตำบลดุซงญอ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ด้วยการเดิน วิ่ง กินอาหารคลีน ตำบลดุซงญอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2476-2-43 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 กันยายน 2562 - 14 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันระบบสุขภาพของไทยที่เน้นการ “สร้าง” มากกว่าการ “ซ่อม” สุขภาพซึ่งเป็นการเน้นระบบสุขภาพเชิงรุก และการสร้างเสริมสุขภาพ เนื่องจากประชาชนป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้เป็นส่วนใหญ่ ทำให้สิ้นเปลืองงบประมาณและค่าใช้จ่ายในการเยียวยารักษาจึงได้มีการรณรงค์ให้ประชาชนได้มาใส่ใจในการออกกำลังกายเพื่อป้องกันโรคภัยไข้เจ็บ ตามที่รัฐบาลได้กำหนดนโยบาย 5 อ. เป็นหลักในการสร้างสุขภาพแก่ประชาชนประกอบด้วยการออกกำลังกาย อาหารปลอดภัยอารมณ์และสุขภาพจิตอนามัยในชุมชน และอโรคยาซึ่งให้เริ่มจากการจัดกิจกิจกรรมออกกำลังกายเป็นเรื่องแรกและบูรณาการกับกิจกรรมอื่น ๆ ที่จำเป็นในการสร้างสุขภาพของบุคคลครอบครัวและชุมชนให้ภาครัฐสนับสนุนองค์ความรู้และทักษะที่จำเป็นในการสร้างและพัฒนาความเข้มแข็งของประชาชนที่จะร่วมใจแก้ปัญหาสุขภาพของตนเองและชุมชนโดยมีเป้าหมายส่งเสริมให้คนไทยอายุตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไปได้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมออย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน ๆ ละ 30 นาที ด้วยการออกกำลังกายแบบต่าง ๆ เช่น การเดิน วิ่ง ปั่นจักรยาน ว่ายน้ำ เต้นแอโรบิค เป็นต้น การเดิน การวิ่ง และการปั่นจักรยานในชุมชน เป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่ดีต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตอีกทั้งยังเป็นการประหยัดพลังงานและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จุดประกายและเป็นตัวอย่างที่ดีแก่เยาวชน ประชาชนตลอดจนผู้ที่พบเห็นทั่วไปได้ตระหนักถึงประโยชน์ของการออกกำลังกาย ดังนั้นชมรมออกกำลังกายตำบลดุซงญอจึงได้บูรณาการร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านกาเต๊าะ จึงจัดทำโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ด้วยการเดิน วิ่ง กินอาหารคลีน ขึ้น เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้เลือกทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ห่างไกลโรค สุขภาพร่างกายแข็งแรง ในการจัดทำโครงการในครั้งนี้ เป็นการรวมตัวของประชาชน เจ้าหน้าที่ของรัฐ ทุกเพศทุกวัย สร้างสรรค์กิจกรรมเพื่อสุขภาพ อีกทั้งยังสร้างแรงจูงใจให้เกิดการออกกำลังกายโดยการเดิน วิ่ง และปั่นจักรยาน ซึ่งเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ลดมลพิษ ประหยัดพลังงาน ช่วยลดภาวะโลกร้อนอีกทางหนึ่งด้วย ส่งผลดีต่อชุมชน ต่อสุขภาพกายและมีสุขภาพจิตที่ดี สร้างแบบอย่างและจุดประกายให้ทุกคนหันมาออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน
  2. เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
  3. เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ
  4. เพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน
  5. ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด
  6. เพิ่มพื้นที่ผลิตอาหาร (ข้าว ผัก ผลไม้)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชน และแกนนำสุขภาพชุมชน การกินอาหารคลีนเพื่อสุขภาพ, โภชนาการที่ถูกต้อง และประโยชน์ของการออกกำลังลังกาย
  2. กิจกรรมการเดินรณรงค์ในพื้นที่ ในการออกกำลังกายด้วยการเดิน วิ่ง ใช้จักรยานในชุมชน ลดมลภาวะเป็นพิษในชุมชน
  3. ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับทราบวัตถุประสงค์ของโครงการ และเข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดีลดภาวการณ์เจ็บป่วยด้วยโรคต่าง ๆ
  2. ประชาชนให้ความสนใจและตื่นตัวในการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น
  3. ประชาชนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
  4. เกิดความสามัคคีในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชน และแกนนำสุขภาพชุมชน การกินอาหารคลีนเพื่อสุขภาพ, โภชนาการที่ถูกต้อง และประโยชน์ของการออกกำลังลังกาย

วันที่ 14 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้แก่ประชาชน และแกนนำสุขภาพในชุมชน เรื่องกินอาหารคลีนเพื่อสุขภาพและโภชนาการที่ถูกต้อง และประโยชน์ของออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี ลดภาวะสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคไม่ติดต่อต่าง ๆ

 

100 0

2. กิจกรรมการเดินรณรงค์ในพื้นที่ ในการออกกำลังกายด้วยการเดิน วิ่ง ใช้จักรยานในชุมชน ลดมลภาวะเป็นพิษในชุมชน

วันที่ 14 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดกิจกรรมเดินรณรงค์การออกกำลังกายโดยการ เดิน วิ่ง ปั่นจักรยาน ในชุมชน
  2. ติดตามและประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมของการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องของประชาชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนให้ความสนใจและตื่นตัวของการออกกำลังกายมากขึ้นและต่อเนื่อง
  2. ประชาชนให้ความสนใจและตื่นตัวในการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น

 

100 0

3. ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับทราบวัตถุประสงค์ของโครงการ และเข้าร่วมโครงการ

วันที่ 14 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนและผู้ที่สนใจได้รับทราบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
  2. เกิดความสามัคคีในชุมชน

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน
40.00 100.00

 

2 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
30.00 100.00

 

3 เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ บริโภคอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น
20.00 50.00

 

4 เพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม เพิ่มขึ้นเป็น
50.00 100.00

 

5 ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ
70.00 100.00

 

6 เพิ่มพื้นที่ผลิตอาหาร (ข้าว ผัก ผลไม้)
ตัวชี้วัด : ร้อยละพื้นที่ผลิตอาหาร (ข้าว ผัก ผลไม้) ต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมด
50.00 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน (2) เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน (3) เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ  (4) เพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน (5) ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด (6) เพิ่มพื้นที่ผลิตอาหาร (ข้าว ผัก ผลไม้)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชน และแกนนำสุขภาพชุมชน การกินอาหารคลีนเพื่อสุขภาพ, โภชนาการที่ถูกต้อง และประโยชน์ของการออกกำลังลังกาย (2) กิจกรรมการเดินรณรงค์ในพื้นที่ ในการออกกำลังกายด้วยการเดิน วิ่ง ใช้จักรยานในชุมชน ลดมลภาวะเป็นพิษในชุมชน (3) ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับทราบวัตถุประสงค์ของโครงการ และเข้าร่วมโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ด้วยการเดิน วิ่ง กินอาหารคลีน ตำบลดุซงญอ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2476-2-43

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมาหามะ เจ๊ะเเต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด