กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนาสาร


“ โครงการถนนสุขภาพและส่งเสริมสมรรถภาพด้วยการเดิน-วิ่ง ”

อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี

หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขฯ เทศบาลเมืองนาสาร

ชื่อโครงการ โครงการถนนสุขภาพและส่งเสริมสมรรถภาพด้วยการเดิน-วิ่ง

ที่อยู่ อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัด สุราษฎร์ธานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการถนนสุขภาพและส่งเสริมสมรรถภาพด้วยการเดิน-วิ่ง จังหวัดสุราษฎร์ธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนาสาร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการถนนสุขภาพและส่งเสริมสมรรถภาพด้วยการเดิน-วิ่ง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการถนนสุขภาพและส่งเสริมสมรรถภาพด้วยการเดิน-วิ่ง " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,007.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนาสาร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยปัจจุบัน‘กรมอนามัย’ เผยผลสำรวจสถานการณ์การออกกำลังกายของคนไทยพบว่า ยังมีการออกกำลังกายน้อย แนะนำให้ปรับพฤติกรรมในการใส่ใจการออกกำลังกายเป็นประจำ เพื่อช่วยให้สุขภาพร่างกายแข็งแรงและป้องกันการเกิดโรคต่างๆได้องค์กรอนามัยโลกได้คาดการณ์ว่าในปี 2558 ทั่วโลกจะมีคนที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐาน 2,300 ล้านคน คนอ้วน 700 ล้านคน ซึ่งภาวะน้ำหนักเกินและอ้วนเป็นปัจจัยเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลือด ความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ส่งผลให้แต่ละปีมีผู้เสียชีวิตกว่า 2.8 ล้านคน สำหรับประเทศไทยจากการสำรวจสุขภาพประชาชน โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พ.ศ.2551-2552 ของประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป พบค่าดัชนีมวลกายที่เท่ากับและมากกว่า 25 กิโลกรัมต่อตารางเมตร ชายร้อยละ 28.4 หญิงร้อยละ 40.7 และเส้นรอบเอวเกินมาตรฐาน ชายร้อยละ 18.6 หญิงร้อยละ 45.0 นอกจากนี้ยังป่วยเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และคอเลสเตอรอลในเลือดสูง ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตของประชากรไทยจำนวนหลายล้านคน นอกจากนี้จากการสำรวจสถานการณ์การเคลื่อนไหวในการออกแรงหรือออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพของคนไทย พบว่า ประชากรไทยที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ร้อยละ 20 มีกิจกรรมทางกายต่ำ และหากพิจารณาเฉพาะการออกกำลังกายพบว่า ผู้ใหญ่ออกกำลังกายสัปดาห์ละ 3 วันๆ ละ 30 นาที ร้อยละ 22-24 และมีเพียงร้อยละ 10 เท่านั้น ที่ออกกำลังกายเพียงพอต่อการป้องกันและลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค ดังนั้น การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคนไทยให้หันมาใส่ใจการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น จึงเป็นเรื่องสำคัญ โดยเฉพาะการเดิน-วิ่ง ที่กำลังได้รับความนิยมในทุกกลุ่มวัย การเดิน-วิ่ง เป็นประจำทุกวัน วันละ 30 นาที จะช่วยให้สุขภาพร่างกายแข็งแรง ช่วยให้ระบบการไหลเวียนของโลหิตและการหายใจดีขึ้น ทำให้หัวใจและปอดทำงานได้ดี สามารถป้องกันโรคต่างๆ โดยเฉพาะโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และการวิ่งที่ถูกวิธียังช่วยลดแรงกระแทกบริเวณหัวเข่า ข้อเท้า ช่วยให้กล้ามเนื้อกระชับและกระดูกแข็งแรง สำหรับผู้ที่ต้องการลดน้ำหนักการวิ่ง สามารถช่วยเผาผลาญพลังงานได้เป็นอย่างดี
ถนนสุขภาพ หมายถึง เส้นทางที่มีความสะอาดและปลอดภัยเหมาะสำหรับการใช้ชีวิตประจำวัน ในการออกกำลังกายด้วยการเดินหรือการวิ่งและการปั่นจักรยาน เพื่อสุขภาพ ทั้งนี้ การสร้างสุขภาพกายที่ดีจะช่วยฝึกจิตใจให้เป็นสุข ช่วยให้จิตใจเบิกบานแจ่มใส และยืดอายุให้ยืนยาวขึ้น การวิ่งเพื่อสุขภาพต่างกับการวิ่งแข่งขัน เพราะเป็นการวิ่งเหยาะๆ ด้วยความเร็วระหว่างการเดินกับการวิ่งเร็ว การวิ่งเพื่อสุขภาพเป็นการออกกำลังกายแบบอากาศนิยม
(แอโรบิค)ชนิดหนึ่งที่ทำได้ง่ายเพราะไม่มีเทคนิคที่ซับซ้อนและมีอันตรายน้อยเมื่อเทียบกับการเล่นกีฬาหรือการออกกำลังกายแบบอื่นการวิ่งเพื่อสุขภาพที่ปฏิบัติอย่างถูกต้องและเหมาะสมกับสภาพร่างกายจะส่งผลให้สมรรถภาพการรับออกซิเจนของร่างกายดีขึ้น เพราะทำให้หัวใจหลอดเลือดและปอดมีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางกายภาพและการทำงานจนสามารถรับและขนส่งออกซิเจนได้ดีขึ้น นอกจากนั้นยังมีผลต่อจิตใจที่ทำให้ผู้วิ่งคลายความเคร่งเครียดทางจิตใจและมีอารมณ์ปลอดโปร่งขึ้นด้วย
ดังนั้นกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองนาสาร จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสมรรถภาพด้วยการเดิน-วิ่ง เพื่อสุขภาพเป็นการสร้างเสริมสุขภาวะร่างกายของประชาชนเมืองนาสาร และเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายให้มีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บอันไม่พึงปรารถนาเกิดเป็นภาคีเครือข่ายสร้างสุขภาพและส่งผลให้ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองนาสารมีคุณภาพชีวิตที่ดีสืบไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อจัดระบบถนนที่เอื้อต่อการออกกำลังกายอย่างปลอดภัย
  2. 2. เพื่อจัดประชาสัมพันธ์การส่งเสริมการออกกำลังกายแบบเดิน-วิ่ง
  3. 3. เพื่อส่งเสริมกิจกรรมการเดิน-วิ่ง อย่างถูกวิธี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดกิจกรรมถนนสุขภาพส่งเสริมสมรรถภาพด้วยการเดิน-วิ่ง ทุกวันเสาร์ เวลา 17.00 – 19.00 น.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนทุกคนมีถนนที่เอื้อต่อการออกกำลังกายอย่างปลอดภัย 2.ประชาชนทุกคนที่เข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีห่างไกลโรค


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ทำให้เจ้าหน้าที่เทศบาลและประชาชนที่มาติดต่อราชการ รวมทั้งประชาชนเทศบาลเมืองนาสารได้รับความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายด้วยการเดิน – วิ่งอย่างปลอดภัย ได้รับความรู้เกี่ยวกับปริมาณพลังงานแคลอรี่ที่ใช้ในการเดิน – วิ่งออกกำลังกาย และการเดินขึ้นบันไดแต่ละครั้ง

ประชาชนเห็นถึงความสำคัญในการออกกำลังกายด้วยการเดินขึ้นบันได และการเดิน – วิ่ง

มีประชาชนมาใช้ถนนสุขภาพในการออกกำลังกายด้วยการเดิน – วิ่ง ในวันเสาร์ จำนวนประมาณ 20-30 คน

ถนนสุขภาพแห่งนี้ยังไม่มีความปลอดภัยเพียงพอในการใช้ออกกำลังกายด้วยการเดิน - วิ่ง เนื่องจากยังมีรถยนต์และรถจักรยานยนต์วิ่งผ่านจำนวนมาก และส่วนใหญ่รถจักรยานยนต์จะวิ่งเข้ามาในเลนส์ถนนที่กั้นไว้สำหรับใช้จัดถนนสุขภาพ เพื่อออกกำลังกายด้วยการเดิน - วิ่ง และบางคันขับมาด้วยความเร็ว จึงอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ที่มาออกกำลังที่ถนนสุขภาพได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อจัดระบบถนนที่เอื้อต่อการออกกำลังกายอย่างปลอดภัย
ตัวชี้วัด : มีถนนที่เอื้อต่อการออกกำลังกายอย่างปลอดภัย
0.00

 

2 2. เพื่อจัดประชาสัมพันธ์การส่งเสริมการออกกำลังกายแบบเดิน-วิ่ง
ตัวชี้วัด : ประชาชนได้รับการส่งเสริมการออกกำลังกายแบบเดิน-วิ่ง
20.00 20.00

 

3 3. เพื่อส่งเสริมกิจกรรมการเดิน-วิ่ง อย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : มีการส่งเสริมกิจกรรมการเดิน-วิ่ง อย่างถูกวิธี
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อจัดระบบถนนที่เอื้อต่อการออกกำลังกายอย่างปลอดภัย (2) 2. เพื่อจัดประชาสัมพันธ์การส่งเสริมการออกกำลังกายแบบเดิน-วิ่ง (3) 3. เพื่อส่งเสริมกิจกรรมการเดิน-วิ่ง อย่างถูกวิธี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมถนนสุขภาพส่งเสริมสมรรถภาพด้วยการเดิน-วิ่ง ทุกวันเสาร์ เวลา 17.00 – 19.00 น.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการถนนสุขภาพและส่งเสริมสมรรถภาพด้วยการเดิน-วิ่ง จังหวัด สุราษฎร์ธานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กองสาธารณสุขฯ เทศบาลเมืองนาสาร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด