กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก


“ โครงการร่วมใจ DPAC ร่วมใจลดโรค Metabolic ”

ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายนิอาซิ นิจินิการี

ชื่อโครงการ โครงการร่วมใจ DPAC ร่วมใจลดโรค Metabolic

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L8302-1-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร่วมใจ DPAC ร่วมใจลดโรค Metabolic จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร่วมใจ DPAC ร่วมใจลดโรค Metabolic



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร่วมใจ DPAC ร่วมใจลดโรค Metabolic " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L8302-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564)แผนงานสาธารณสุขได้เน้นหนักโรคไม่ติดต่อกลุ่มหลอดเลือดที่เป็นภัยมือคร่าชีวิตประชาชนอย่างมากในปัจจุบันกอปรกับเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยเจริญก้าวหน้าในทุกด้านและมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ววัฒนธรรมตะวันตกแพร่กระจายมากขึ้น ส่งผลต่อวิถีการดำเนินชีวิตของประชาชนทั้งในเมืองและสู่ชนบท ซึ่งจะส่งผลการดำเนินชีวิตเปลี่บนเแปลงไป ที่มีการแข่งขันในทุกด้าน เช่น มีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้กับครอบครัว การเร่งรีบในการทำงาน การบริโภคอาหารโดยไม่ได้คำนึงคุณค่าทางโภชนาการ มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดออกกำลังกาย ภาวะเครียด ซึ่งจะส่งต่อสุขภาพของร่างกายโดยรวมทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลิตสูง เบาหวาน จัดเป็นโรคเรื้อรัง"รักษาได้ แต่ส่วนใหญ่ไม่หายขาด"โรคไม่ติดต่อกลุ่มหลอดเลือดที่เป็นภัยมืดคร่าชีวิตประชาชนอย่างมากในปัจจุบันประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบดังกล่าวมีผลกระทบต่อวิถีชีวิตและสุขภาพของประชาชนไทยเป็นอย่างมาก ซึ่งโรคไม่ติดต่อเหล่านี้สามารถป้องกันได้และไม่เกิดโรคแทรกซ้อน โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ และมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม จะช่วยลดและไม่ให้เป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด และโรคไตวายเรื้อรัง ซึ้งล้วนแต่สร้างความทุกข์ทรมาน ต่อทั้งตัวผู้ป่วยเองและญาติ เช่น ภาวะหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมองตีบหรือแตก ทำให้เกิดภาวะอัมพฤกษ์หรืออัมพาตและยังก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายของการรักษาที่สูงมาก ดังนั้นการดำเนินการในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของประเทส จำเป็นจะต้องพัฒนาประชาชนให้มีองค์ความรู้ และทักษะที่จำเป็นและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม ทั้งระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชนครอบคลุม กลุ่มประชากรเป้าหมาย เพื่อให้ประชาชนสามารถส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้แกตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้ ซึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจำเป็นจะต้องส่งเสริมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่สำคัญ ๆ ที่ก่อให้เกิดปัญหาสาธาณสุขของประเทศ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านสะโล ได้สนองตอบนโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ช่วยคนไทยห่างไกลโรค มีเป้าหมายที่สำคัญ คือ การสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชนในพื้นที่โดยเฉพาะเขตกองทุนฯเทศบาลตำบลมะรือโบตก รวมถึงในพื้นที่เขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสะโล ลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว โดยใช้กระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เป็นหัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนให้การดำเนินงานช่วยตนไทยห่างไกลโรคให้บรรลุผลสำเร็จ เพื่อให้มีความรู้ และทักาะในการดูแลตนเองและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้หลัก 3 อ. เป็นหลัก เพื่อให้มีสุขภาวะในทุกด้าน หลังการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเพื่อ ค้นหาโรคในระยะเริ่มต้น จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นและขอสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินการจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลมะรือโบตก เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดการเกิดโรคเรื้อรังและภาวะแทรกซ้อนได้ในที่สุด และกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และสามารถนำไปปฏิบัติได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเฝ้าระวังการเกิดโรคในกลุ่มเป้าหมาย และสามารถป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนฉับพลัน
  2. เพื่อค้นหาและลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค ลดอัตราป่วยด้วยโรคเรื้อรังในชุมชนและลดภาวะแทรกซ้อน
  3. เพื่อให้ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงมีความรู้การบริโภค และพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องสามารถควบคุมความเสี่ยงได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 95
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อภาระโรคMetabolic 2.ประชาชนตระหนัก และใส่ใจในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน สามารถจัดการสุขภาพตนเองโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้อย่างเหมาะสม 3.ภาคีเครือข่ายมีบทบาทในการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค Metabolic
    4.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมการออกกำลังกายเพิ่มขึ้นสภาพร่างกายแข็งแรงจนสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ และไม่มีภาวะแทรกซ้อนของโรคได้ในที่สุด


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรมดูแลสุขภาพตามวิถีซุนนะฮ

    วันที่ 1 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และปฏิบัติได้ไม่ให้เกิดโรคนั้นต้องใช้เวลาพอสมควร

     

    60 62

    2. ป้ายโครงการขนาด 1.2*2.5เมตร

    วันที่ 1 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทำป้ายไวนิล

     

    0 95

    3. จัดกิจกรรมฝึกสมาธิแบบอิสลาม

    วันที่ 2 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับแผ่นซีดี เสียงอัลกรุอ่าน

     

    0 95

    4. จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง

    วันที่ 7 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับความสนใจจากกลุ่มเป้าหมายเป็นอย่างดี 

     

    35 38

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    กลุ่มเป้าหมาย 35 ปีขึ้นไป ในกลุ่มสีเขียวอ่อน 35 คน รวมผู้เข้าร่วมทั้งหมด 46 คน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและความดันดลหิตสูง ได้ 38 คน ร้อยละ 82.61  มีการสาธิตอาหารที่เหมาะสมกับกลุ่มเสี่ยง  ได้รับการบรรยายตามหลักศาสนาและวิถีซุนนะห์โดยเอาแบบอย่างท่านศาสดามาใช้ชีวิตประจำวันเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรค

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเฝ้าระวังการเกิดโรคในกลุ่มเป้าหมาย และสามารถป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนฉับพลัน
    ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยรายใหม่ลดลง และภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยเก่าลดลง

     

    2 เพื่อค้นหาและลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค ลดอัตราป่วยด้วยโรคเรื้อรังในชุมชนและลดภาวะแทรกซ้อน
    ตัวชี้วัด : อัตราป่วยของโรคเรื้อรังในชุมชนลดลง

     

    3 เพื่อให้ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงมีความรู้การบริโภค และพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องสามารถควบคุมความเสี่ยงได้
    ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ และมีพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 95
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 95
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังการเกิดโรคในกลุ่มเป้าหมาย และสามารถป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนฉับพลัน (2) เพื่อค้นหาและลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค ลดอัตราป่วยด้วยโรคเรื้อรังในชุมชนและลดภาวะแทรกซ้อน (3) เพื่อให้ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงมีความรู้การบริโภค และพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องสามารถควบคุมความเสี่ยงได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการร่วมใจ DPAC ร่วมใจลดโรค Metabolic จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L8302-1-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายนิอาซิ นิจินิการี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด