กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เมาะมาวี


“ โครงการอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะจากต้นทาง ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ประจำปี 2562 ”

ตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายดิง ยาบี

ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะจากต้นทาง ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ประจำปี 2562

ที่อยู่ ตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3031-12-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 ธันวาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะจากต้นทาง ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ประจำปี 2562 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เมาะมาวี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะจากต้นทาง ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ประจำปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะจากต้นทาง ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ประจำปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L3031-12-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 ธันวาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 61,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เมาะมาวี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันคนไทยกว่า 65 ล้านคนสามารถสร้างขยะมูลฝอยทั่วประเทศได้มากถึง 14.4 ล้านตัน ต่อปีหรือ 39,240 ตันต่อวัน (สถานการณ์ด้านการกำจัดขยะมูลฝอยของประเทศไทย (กรมควบคุมมลพิษ) โดยมีค่าเฉลี่ยการผลิตขยะคนละ 0.6 กิโลกรัมต่อวัน ซึ่งขยะโดยส่วนใหญ่ประกอบด้วยขยะประเภทบรรจุภัณฑ์และผลิตภัณฑ์ที่สามารถนำกลับมาใช้ซ้ำ (Reuse) และแปรรูปกลับมาใช้ซ้ำ (Recycle) แต่ความสามารถในการจัดเก็บขยะกลับมีไม่ถึง 70% ของขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น จึงทำให้เกิดปริมาณขยะมูลฝอยตกค้างตามสถานที่ต่างๆ หรือมีการนำไปกำจัดโดยวิธีกองบนพื้นซึ่งไม่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมตามมา สำหรับสถานการณ์ขยะของตำบลเมาะมาวี มีการผลิตขยะเฉลี่ย 0.3 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน มีการจัดเก็บประมาณ 69 ตันต่อเดือน มีการเก็บค่าใช้จ่ายการกำจัดขยะครัวเรือนละ 10 บาทต่อเดือน ซึ่งน้อยกว่าต้นทุนที่จัดเก็บจริง ที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายประมาณ 80,000 บาทต่อเดือน จากการสังเกตพบว่าขยะส่วนใหญ่ประกอบด้วยถุงพลาสติก เศษผ้าออมสำเร็จรูปที่ปนเปื้อนประมาณร้อยละ 40 เศษพืชผัก อาหารจากครัวเรือน ขยะอินทรีย์อื่นๆ ร้อยละ 30 ขยะรีไซเคิลได้ร้อยละ 20 และขยะอื่นๆ ซึ่ง
      ขยะเป็นแหล่งเพาะโรคต่าง ๆ มากมายและเป็นแหล่งการแพร่ของเชื้อโรค ที่ก่อให้เกิดโรคในระบบทางเดินหายใจ โรคในระบบทางเดินอาหาร โรคในระบบผิวหนัง การเกิดอุบัติเหตุ จะเห็นว่าจะเป็นตัวบั่นทอนอายุของประชาชนให้สั้นลงได้ ทุกระบบของการเกิดโรคมีสาเหตุจากขยะเกือบทั้งสิ้น ขยะบางชนิดก็มีประโยชน์ถ้ามีวิธีการนำกลับมาใช้จะได้คุณค่าอย่างแท้จริงการกำจัดขยะไม่ว่าโดยวิธีใดย่อมมีผลกระทบต่อสิ่งแวด ล้อมไม่มากก็น้อยทั้งในระยะสั้นและระยะยาวโดยเฉพาะในบ้านเราไม่ได้มีการแยกขยะอันตรายที่มีสารเคมีและโลหะหนักออกไปกำจัดให้ถูกต้องก็ยิ่งน่าเป็นห่วงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน การหาวิธีกำจัดขยะในรูปแบบต่าง ๆ เป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ การกำจัดขยะให้ได้ผล ต้องแก้ที่ต้นเหตุ คือ “ คน"ซึ่งเป็นผู้ก่อให้เกิดขยะ โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากการผลิตขยะโดยขาดสำนึกรับผิดชอบ ไปสู่การสร้างตระหนักและรับผิดชอบขยะที่ตนเองผลิตให้ลดลง ทิ้งเท่าที่จำเป็นและร่วมรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการกำจัดขยะ
ประกอบกับรัฐบาลโดยพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีได้กำหนดนโยบายและแผนงานโดยถือเป็นเรื่องสำคัญที่ทุกภาคส่วนต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาขยะโดยเน้นการจัดการขยะจากต้นทาง นั่นคือจากประชาชนผู้ทิ้งขยะ จึงจำเป็นต้องดำเนินการโครงการนี้เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์อันมหาศาลต่อสังคมและประเทศชาติต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ชุมชนมีพฤติกรรมการจัดการขยะอย่างยั่งยืน
  2. เพื่อให้ประชาชน ศาสนสถานและสถานศึกษา มีการจัดการขยะให้ครอบคลุมทุกพื้นที่เป้าหมายเพื่อลดภาวะเสี่ยงของการเกิดโรคจากมลภาวะของขยะ
  3. เพื่อให้มีการแยกขยะจากครัวเรือน
  4. พื่อให้ประชาชนในตำบลเมาะมาวีสุขภาพดีถ้วนหน้า

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับมลพิษที่เกิดจากขยะและผลกระทบของขยะต่อสิ่งแวดล้อม
            2. กลุ่มเป้าหมายรู้วิธีการลดขยะในศาสนสถาน สถานศึกษาและในชุมชน       3. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการแยกขยะประเภทต่างๆ
            4. มีการนำวัสดุกลับมาใช้ใหม่ รีไซเคิลใหม่
            5. กลุ่มเป้าหมายนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน รวมไปถ่ายทอดให้กับผู้อื่น
      1. ประชาชนในตำบลเมาะมาวีมีสุขภาพดีถ้วนหน้า (กลุ่มเป้าหมายผู้นำในชุมชน ผู้นำศาสนาและประชาชนในชุมชน )

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ชุมชนมีพฤติกรรมการจัดการขยะอย่างยั่งยืน
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ของประชาชนเทศบาลตำบลบ้านคอกช้างที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ มีความเข้าใจ ในด้านการจัดการขยะที่ถูกต้อง 2.มีครัวเรือนเข้าร่วมเป็นเครือข่ายโครงการนำร่อง ไม่น้อยกว่า 40 ครัวเรือน 3.ปริมาณขยะลดลง อย่างน้อย 200 กิโลกรัม/วัน 4.มีเครือข่ายเยาวชนตาสัปรด เฝ้าระวังการทิ้งขยะ
    0.00

     

    2 เพื่อให้ประชาชน ศาสนสถานและสถานศึกษา มีการจัดการขยะให้ครอบคลุมทุกพื้นที่เป้าหมายเพื่อลดภาวะเสี่ยงของการเกิดโรคจากมลภาวะของขยะ
    ตัวชี้วัด : 1.เกิดพื้นที่ ที่สามารถใช้ประโยชน์ทดแทนกองขยะอย่างน้อย 6 จุด และเกิดวันทำความสะอาดประจำปีของชุมชน 2.สภาพแวดล้อมของชุมชน สะอาด เรียบร้อย น่าอยู่อาศัย ไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรค เช่น แหล่งเพาะพันธุ์ยุง แมลงวัน เป็นต้น
    0.00

     

    3 เพื่อให้มีการแยกขยะจากครัวเรือน
    ตัวชี้วัด : มีการแยกขยะจากต้นทาง
    0.00

     

    4 พื่อให้ประชาชนในตำบลเมาะมาวีสุขภาพดีถ้วนหน้า
    ตัวชี้วัด : การเจ็บป่วยของประชากรในตำบลเมาะมาวีลดลง
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ชุมชนมีพฤติกรรมการจัดการขยะอย่างยั่งยืน (2) เพื่อให้ประชาชน ศาสนสถานและสถานศึกษา มีการจัดการขยะให้ครอบคลุมทุกพื้นที่เป้าหมายเพื่อลดภาวะเสี่ยงของการเกิดโรคจากมลภาวะของขยะ (3) เพื่อให้มีการแยกขยะจากครัวเรือน (4) พื่อให้ประชาชนในตำบลเมาะมาวีสุขภาพดีถ้วนหน้า

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะจากต้นทาง ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ประจำปี 2562 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 62-L3031-12-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายดิง ยาบี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด