กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย


“ โครงการวัยรุ่นไม่วุ่นวาย ”

รพสต.บ้านท่าจีน ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวถาวรีย์ ศักดิ์นุกูล

ชื่อโครงการ โครงการวัยรุ่นไม่วุ่นวาย

ที่อยู่ รพสต.บ้านท่าจีน ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L8404-1-4 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 ตุลาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัยรุ่นไม่วุ่นวาย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน รพสต.บ้านท่าจีน ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยรุ่นไม่วุ่นวาย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการวัยรุ่นไม่วุ่นวาย " ดำเนินการในพื้นที่ รพสต.บ้านท่าจีน ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L8404-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 ตุลาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,145.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสภาพเศรษฐกิจและสังคมยุค โลกาภิวัตน์การเข้ามาซึ่งวัฒนธรรมตะวันตก สื่อเทคโนโลยีทันสมัยกับวัยหัวเลี้ยวหัวต่อที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะในการเผชิญสังคมยุคใหม่ ส่งผลกระทบถึงปัญหาเด็กและเยาวชนตั้งครรภ์ไม่พร้อมซึ่งสังคมกำลังให้ความสนใจ การแก้ปัญหาต้องอาศัยความร่วมมือหลายภาคส่วน เพื่อดำเนินงานและการแก้ปัญหาเด็กและเยาวชนตั้งครรภ์ไม่พร้อม จากการประเมินผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กพบว่าโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาทับมีอัตราการคลอดบุตร น้อยกว่า 20 ปี มีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งเกณฑ์กำหนดไม่เกินร้อยละ 10 ซึ่งปัญหาวัยรุ่นตั้งครรภ์ส่งผลทางด้านสังคมเป็นอย่างมาก มารดาวัยรุ่นมักไม่แต่งงาน มีปัญหาการหย่าร้างสูงไม่มีอาชีพ มีโอกาสทำผิดกฎหมายสูงทำแท้ง ทอดทิ้ง ไม่ได้รับการดูแลเป็นปัญหาสังคมเยาวชนหยุดเรียน ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศ ผลต่ออารมณ์ จิตใจ สังคมเครียด ซึมเศร้า กังวลสร้างบาดแผลอันเจ็บปวดแห่งความทรงจำไม่รู้ลืมไม่ได้ศึกษาต่อหรือจบช้าหางานลำบากเนื่องจากขาดคุณวุฒิขาดทักษะในการเป็นผู้ปกครอง และการเลี้ยงดูบุตรพฤติกรรมเสี่ยงยาเสพติดรวมทั้งโรคทางเพศสัมพันธ์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าจีนจึงเห็นความสำคัญของการแก้ปัญหาเชิงป้องกันและสร้างภาพลักษณ์เชิงบวกของโครงการเพื่อมีทักษะในการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นผ่านตามเกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 10 รวมทั้งปัญหาพฤติกรรมไม่เหมาะสมโดยใช้การวิเคราะห์ปัญหาโดยใช้เทคนิค AIC (AppreciahonInflueuceCantrol) มุ่งเน้นการพัฒนาแบบพร้อมกันทุกด้าน วิธีคิดและวิธีปรับทำงานเปลี่ยนจากการฟัง จดจำ ทำตามกันมาเป็นการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม การรับคำสั่งทำตาม ควบคุม มาเป็นร่วมกันคิด วิเคราะห์ และร่วมกันเป็นเจ้าของและจัดการเองโดยทางภาครัฐเป็นผู้สนับสนุนและเสริมพลังเท่านั้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ ข้อที่1.เพื่อค้นหาปัญหาสุขภาพของวัยรุ่นอายุ 10 - 19 ปี(หรือผู้สนใจ) ข้อที่2.สังคม ชุมชน ครอบครัวตระหนักเข้าใจปัญหาวัยรุ่นโดยเฉพาะตั้งครรภ์ไม่พร้อมและพฤติกรรมไม่เหมาะสมร่วมหาแนวทางดำเนินชีวิตที่เหมาะสม ข้อที่3.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะเรื่องเพศรู้คุณค่าในตนเองชะลอการมีเพศสัมพันธ์กลุ่มเสี่ยงที่มีเพศสัมพันธ์มีความรู้ self sexการป้องกันคุมกำเนิด กลุ่มตั้งครรภ์เน้นเรื่องความปลอดภัยและทักษะความเป็นแม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ 1.ประชุมวางแผนคณะกรรมการหมู่บ้านพร้อมด้วยตัวแทนเยาวชนจำนวน 30 คน 2.ประชาสัมพันธ์กลุ่มเป้าหมายทางสื่อประชาสัมพันธ์ เสียงตามสาย 3.จัดอบรมการแก้ไขปัญหาของวัยรุ่น -ผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 60 คน - วิทยากร จำนวน 2 คน - ประธาน/ผู้เ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.พัฒนารูปแบบการให้คำปรึกษาวัยรุ่นให้มีการเข้าถึงง่าย สะดวก รวดเร็ว 2.เพิ่มช่องทางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่เหมาะสมในระดับชุมชน โดยพยามลดช่องว่าง
3.สร้างและส่งเสริมวัยรุ่นต้นแบบ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 วัตถุประสงค์ ข้อที่1.เพื่อค้นหาปัญหาสุขภาพของวัยรุ่นอายุ 10 - 19 ปี(หรือผู้สนใจ) ข้อที่2.สังคม ชุมชน ครอบครัวตระหนักเข้าใจปัญหาวัยรุ่นโดยเฉพาะตั้งครรภ์ไม่พร้อมและพฤติกรรมไม่เหมาะสมร่วมหาแนวทางดำเนินชีวิตที่เหมาะสม ข้อที่3.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะเรื่องเพศรู้คุณค่าในตนเองชะลอการมีเพศสัมพันธ์กลุ่มเสี่ยงที่มีเพศสัมพันธ์มีความรู้ self sexการป้องกันคุมกำเนิด กลุ่มตั้งครรภ์เน้นเรื่องความปลอดภัยและทักษะความเป็นแม่
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1.สามารถค้นหาปัญหาสุขภาพวัยรุ่นอายุ 10-19 ปี ในพื้นที่ได้ 2. ชุมชน สังคม และครอบครัวตระหนักรับรู้เข้าใจปัญหาวัยรุ่นโดยเฉพาะตั้งครรภ์ไม่พร้อมและพฤติกรรมไม่เหมาะสมโดยชุมชนเป็นผู้รับรู้และแก้ไขปัญหาแบบมีส่วนร่วม 3. มีทักษะเรื่องเพศรู้คุณค่าในตนเองชะลอการมีเพศสัมพันธ์กลุ่มเสี่ยงที่มีเพศสัมพันธ์มีความรู้selfsexการป้องกันคุมกำเนิด กลุ่มตั้งครรภ์เน้นเรื่องความปลอดภัยและทักษะความเป็นแม่
60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่1.เพื่อค้นหาปัญหาสุขภาพของวัยรุ่นอายุ 10 - 19 ปี(หรือผู้สนใจ)  ข้อที่2.สังคม ชุมชน ครอบครัวตระหนักเข้าใจปัญหาวัยรุ่นโดยเฉพาะตั้งครรภ์ไม่พร้อมและพฤติกรรมไม่เหมาะสมร่วมหาแนวทางดำเนินชีวิตที่เหมาะสม  ข้อที่3.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะเรื่องเพศรู้คุณค่าในตนเองชะลอการมีเพศสัมพันธ์กลุ่มเสี่ยงที่มีเพศสัมพันธ์มีความรู้ self sexการป้องกันคุมกำเนิด กลุ่มตั้งครรภ์เน้นเรื่องความปลอดภัยและทักษะความเป็นแม่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ 1.ประชุมวางแผนคณะกรรมการหมู่บ้านพร้อมด้วยตัวแทนเยาวชนจำนวน 30 คน  2.ประชาสัมพันธ์กลุ่มเป้าหมายทางสื่อประชาสัมพันธ์ เสียงตามสาย  3.จัดอบรมการแก้ไขปัญหาของวัยรุ่น -ผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 60 คน - วิทยากร จำนวน 2 คน - ประธาน/ผู้เ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการวัยรุ่นไม่วุ่นวาย จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L8404-1-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวถาวรีย์ ศักดิ์นุกูล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด