โครงการดูแลผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสตำบลสวี โดยผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ปี 2562
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการดูแลผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสตำบลสวี โดยผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ปี 2562 ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุ่ขภาพตำบลสวี อำเภอสวี จังหวัดชุมพร
หัวหน้าโครงการ
นายสมัย แสนบุดดา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สวี
กันยายน 2562
ชื่อโครงการ โครงการดูแลผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสตำบลสวี โดยผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ปี 2562
ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุ่ขภาพตำบลสวี อำเภอสวี จังหวัดชุมพร จังหวัด ชุมพร
รหัสโครงการ 002 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสตำบลสวี โดยผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ปี 2562 จังหวัดชุมพร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุ่ขภาพตำบลสวี อำเภอสวี จังหวัดชุมพร
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สวี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสตำบลสวี โดยผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ปี 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสตำบลสวี โดยผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุ่ขภาพตำบลสวี อำเภอสวี จังหวัดชุมพร รหัสโครงการ 002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 96,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สวี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเปลี่ยนแปลงของปัญหาสุขภาพและการปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพตามนโยบายสุขภาพ ปัจจุบันเน้นการแก้ไขปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้น จากพฤติกรรมสุขภาพของบุคคล มีการสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ พัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการมีความสุขดี สนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูและสุขภาพ และมีการกระตุ้นเตือนให้ประชาชนหันมาดูและสุขภาพตนเอง ป้องกัน ส่งเสริมสุขภาพตนเอง และครอบครัวมากขึ้น ซึ่งเป็นการสร้างสุขภาพมากกว่าซ่อมนโยบายด้านสุขภาพเน้นบริการเชิงรุก มีการสำรวจภาวะสุขภาพประชาชนทุกกลุ่มต่างๆ เช่นผู้พิการ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยด้วยโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต ได้เข้าถึงบริการสุขภาพอย่างเท่าเทียมกัน การตรวจคัดกรองและสำรวจภาวะสุขภาพประชาชนในพื้นที่ตำบลสวี 2 ปี ที่ผ่านมาพบว่าประชาชนเจ็บป่วยกันมากด้วยโรคที่ป้องกันได้และที่สำคัญว่าตำบลสวีมีผู้สูงอายุจำนวน 588 คน โดยแยกผู้สูงอายุออกเป็น 4 กลุ่ม คือ
กลุ่มที่ 1 ผู้สูงอายุที่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ไม่ต้องพึ่งพาผู้อื่น (กลุ่มติดสังคม) ผู้ที่ไม่มีปัญหาสุขภาพคิดเป็น 60%
กลุ่มที่ 2 ผู้สูงอายุกลุ่มที่ต้องพึ่งพาผู้อื่นบ้างในการประกอบกิจวัติประจำวัน (กลุ่มติดบ้าน) คิดเป็น 30 %
กลุ่มที่ 3 ผู้สูงอายุที่ต้องพึงพาผู้อื่นทั้งหมด โรคเรื้อรังและแทรกซ้อน (กลุ่มติดเตียง)กลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่ เป็นภาระครอบครัวและสังคมซึ่งบางรายต้องอยู่ตามลำพังในบางวัน คิดเป็น 10%
กลุ่มที่ 4 เป็นกลุ่มผู้ด้อยโอกาสซึ่งบางคนก็อยู่ในกลุ่มผู้สูงอายุและคนพิการในชุมชน ที่่ป่วยด้วยโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต ซึ่งจะต้องได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องในรูปแบบของการฟื้นฟูสภาพคิดเป็นร้อยบะ 0.05 ของประชากรทั้งหมด
จากสภาพปัญหาข้างต้น ชมรมผู้สูงอายุตำบลสวี จึงได้จัดเวทีประชาคมเพื่อหาแนวทางในการจัดกิจกรรมเพื่อฟื้นฟูสภาพให้กับสมาชิกผู้สูงอายุและกลุ่มผู้ด้อยโอกาสจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อจัดหาผู้ช่วยแพทย์แผนไทยที่ผ่านการอบรมตามหลักสูตรของกระทรวงสาธารณสุขโดยผ่านหลักสูตรไม่ต่ำกว่า 372 ชั่วโมงเข้าไปจัดบริการดูแลผู้สูงอายุในกลุ่ม 2,3 และ 4 จากที่ได้ดำเนินการตามโครงการในปีที่ผ่านมาพบว่ากลุ่มผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแล โดยผู้ช่วยแพทย์แผนไทยได้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย และทำให้บุคคลกลุ่มดังกล่าวมีสุขภาพที่ดีขึ้นในระดับที่น่าพอใจ ฉะนั้นในปีงบประมาณ 2562 จึงขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนอย่างต่อเนื่อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ดูแลผู้ด้อยโอกาสในตำบลสวี ให้แก่ ผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาตและกลุ่มผู้สูงอายุทีีมีอายุ 70 ปีที่ช่วยเหลือตนเองได้บ้างและผู้สูงอายุที่ไม่มีผู้ดูแลที่บ้าน จำนวน 185 ราย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
185
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้สูงอายุในกลุ่มติดเตียงและผู้ด้อยโอกาสที่ต้องดูแลและฟื้นฟูสภาพโดยบุคลกรผู้ช่วยแพทย์แผนไทยจะมีสุขภาพดีขึ้นตามลำดับ แม้ว่าไม่สามารถกลับสู่สภาพปกติ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ดูแลผู้ด้อยโอกาสในตำบลสวี ให้แก่ ผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาตและกลุ่มผู้สูงอายุทีีมีอายุ 70 ปีที่ช่วยเหลือตนเองได้บ้างและผู้สูงอายุที่ไม่มีผู้ดูแลที่บ้าน จำนวน 185 ราย
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ด้อยโอกาสในตำบลสวี ให้แก่ ผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาตและกลุ่มผู้สูงอายุที่มีอายุ 70 ปีที่ช่วยเหลือตนเองได้บ้างและผู้สูงอายุที่ไม่มีผู้ดูแลที่บ้าน
185.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
185
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
185
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ดูแลผู้ด้อยโอกาสในตำบลสวี ให้แก่ ผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาตและกลุ่มผู้สูงอายุทีีมีอายุ 70 ปีที่ช่วยเหลือตนเองได้บ้างและผู้สูงอายุที่ไม่มีผู้ดูแลที่บ้าน จำนวน 185 ราย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการดูแลผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสตำบลสวี โดยผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ปี 2562 จังหวัด ชุมพร
รหัสโครงการ 002
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสมัย แสนบุดดา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการดูแลผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสตำบลสวี โดยผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ปี 2562 ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุ่ขภาพตำบลสวี อำเภอสวี จังหวัดชุมพร
หัวหน้าโครงการ
นายสมัย แสนบุดดา
กันยายน 2562
ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุ่ขภาพตำบลสวี อำเภอสวี จังหวัดชุมพร จังหวัด ชุมพร
รหัสโครงการ 002 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสตำบลสวี โดยผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ปี 2562 จังหวัดชุมพร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุ่ขภาพตำบลสวี อำเภอสวี จังหวัดชุมพร
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สวี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสตำบลสวี โดยผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ปี 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสตำบลสวี โดยผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุ่ขภาพตำบลสวี อำเภอสวี จังหวัดชุมพร รหัสโครงการ 002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 96,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สวี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเปลี่ยนแปลงของปัญหาสุขภาพและการปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพตามนโยบายสุขภาพ ปัจจุบันเน้นการแก้ไขปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้น จากพฤติกรรมสุขภาพของบุคคล มีการสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ พัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการมีความสุขดี สนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูและสุขภาพ และมีการกระตุ้นเตือนให้ประชาชนหันมาดูและสุขภาพตนเอง ป้องกัน ส่งเสริมสุขภาพตนเอง และครอบครัวมากขึ้น ซึ่งเป็นการสร้างสุขภาพมากกว่าซ่อมนโยบายด้านสุขภาพเน้นบริการเชิงรุก มีการสำรวจภาวะสุขภาพประชาชนทุกกลุ่มต่างๆ เช่นผู้พิการ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยด้วยโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต ได้เข้าถึงบริการสุขภาพอย่างเท่าเทียมกัน การตรวจคัดกรองและสำรวจภาวะสุขภาพประชาชนในพื้นที่ตำบลสวี 2 ปี ที่ผ่านมาพบว่าประชาชนเจ็บป่วยกันมากด้วยโรคที่ป้องกันได้และที่สำคัญว่าตำบลสวีมีผู้สูงอายุจำนวน 588 คน โดยแยกผู้สูงอายุออกเป็น 4 กลุ่ม คือ
กลุ่มที่ 1 ผู้สูงอายุที่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ไม่ต้องพึ่งพาผู้อื่น (กลุ่มติดสังคม) ผู้ที่ไม่มีปัญหาสุขภาพคิดเป็น 60%
กลุ่มที่ 2 ผู้สูงอายุกลุ่มที่ต้องพึ่งพาผู้อื่นบ้างในการประกอบกิจวัติประจำวัน (กลุ่มติดบ้าน) คิดเป็น 30 %
กลุ่มที่ 3 ผู้สูงอายุที่ต้องพึงพาผู้อื่นทั้งหมด โรคเรื้อรังและแทรกซ้อน (กลุ่มติดเตียง)กลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่ เป็นภาระครอบครัวและสังคมซึ่งบางรายต้องอยู่ตามลำพังในบางวัน คิดเป็น 10%
กลุ่มที่ 4 เป็นกลุ่มผู้ด้อยโอกาสซึ่งบางคนก็อยู่ในกลุ่มผู้สูงอายุและคนพิการในชุมชน ที่่ป่วยด้วยโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต ซึ่งจะต้องได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องในรูปแบบของการฟื้นฟูสภาพคิดเป็นร้อยบะ 0.05 ของประชากรทั้งหมด
จากสภาพปัญหาข้างต้น ชมรมผู้สูงอายุตำบลสวี จึงได้จัดเวทีประชาคมเพื่อหาแนวทางในการจัดกิจกรรมเพื่อฟื้นฟูสภาพให้กับสมาชิกผู้สูงอายุและกลุ่มผู้ด้อยโอกาสจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อจัดหาผู้ช่วยแพทย์แผนไทยที่ผ่านการอบรมตามหลักสูตรของกระทรวงสาธารณสุขโดยผ่านหลักสูตรไม่ต่ำกว่า 372 ชั่วโมงเข้าไปจัดบริการดูแลผู้สูงอายุในกลุ่ม 2,3 และ 4 จากที่ได้ดำเนินการตามโครงการในปีที่ผ่านมาพบว่ากลุ่มผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแล โดยผู้ช่วยแพทย์แผนไทยได้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย และทำให้บุคคลกลุ่มดังกล่าวมีสุขภาพที่ดีขึ้นในระดับที่น่าพอใจ ฉะนั้นในปีงบประมาณ 2562 จึงขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนอย่างต่อเนื่อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ดูแลผู้ด้อยโอกาสในตำบลสวี ให้แก่ ผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาตและกลุ่มผู้สูงอายุทีีมีอายุ 70 ปีที่ช่วยเหลือตนเองได้บ้างและผู้สูงอายุที่ไม่มีผู้ดูแลที่บ้าน จำนวน 185 ราย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 185 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้สูงอายุในกลุ่มติดเตียงและผู้ด้อยโอกาสที่ต้องดูแลและฟื้นฟูสภาพโดยบุคลกรผู้ช่วยแพทย์แผนไทยจะมีสุขภาพดีขึ้นตามลำดับ แม้ว่าไม่สามารถกลับสู่สภาพปกติ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ดูแลผู้ด้อยโอกาสในตำบลสวี ให้แก่ ผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาตและกลุ่มผู้สูงอายุทีีมีอายุ 70 ปีที่ช่วยเหลือตนเองได้บ้างและผู้สูงอายุที่ไม่มีผู้ดูแลที่บ้าน จำนวน 185 ราย ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ด้อยโอกาสในตำบลสวี ให้แก่ ผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาตและกลุ่มผู้สูงอายุที่มีอายุ 70 ปีที่ช่วยเหลือตนเองได้บ้างและผู้สูงอายุที่ไม่มีผู้ดูแลที่บ้าน |
185.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 185 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 185 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ดูแลผู้ด้อยโอกาสในตำบลสวี ให้แก่ ผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาตและกลุ่มผู้สูงอายุทีีมีอายุ 70 ปีที่ช่วยเหลือตนเองได้บ้างและผู้สูงอายุที่ไม่มีผู้ดูแลที่บ้าน จำนวน 185 ราย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการดูแลผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสตำบลสวี โดยผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ปี 2562 จังหวัด ชุมพร
รหัสโครงการ 002
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสมัย แสนบุดดา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......