โครงการผู้บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพรพ.สต.น้ำน้อย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการผู้บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพรพ.สต.น้ำน้อย ”
รพสต.น้ำน้อย ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุกัญญา หมานสะยะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย
สิงหาคม 2562
ชื่อโครงการ โครงการผู้บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพรพ.สต.น้ำน้อย
ที่อยู่ รพสต.น้ำน้อย ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L8404-1-10 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผู้บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพรพ.สต.น้ำน้อย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน รพสต.น้ำน้อย ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพรพ.สต.น้ำน้อย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผู้บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพรพ.สต.น้ำน้อย " ดำเนินการในพื้นที่ รพสต.น้ำน้อย ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L8404-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 53,473.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาหารมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพ เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ชีวิตดำรงอยู่ได้ แต่หากอาหารนั้นมีสารที่เป็นอันตรายปนเปื้อน หรือแม้แต่มีสารที่อนุญาตให้ใช้ในอาหารได้แต่มีปริมาณที่มากกว่าที่กำหนดก็ย่อมให้เกิดพิษภัยกับผู้บริโภค รวมทั้งผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน มีสารต้องห้ามส่งผลต่อคุณภาพชีวิต การส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดีไม่เจ็บป่วย เป็นสิ่งที่รัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องให้การสนับสนุน ควบคุม ดูแล เฝ้าระวัง และป้องกัน ให้กับประชาชน เน้นให้ประชาชนได้บริโภคอาหาร ปลอดภัย มีคุณค่าอย่างทั่วถึง และมีการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพ ปราศจากสารต้องห้ามที่เป็นพิษต่อสุขภาพ ครอบคลุมทุกพื้นที่
ปัจจุบันปัญหาสำคัญที่พบในอาหารสด มักจะมีสารปนเปื้อนอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเมื่อรับประทานเข้าไปแล้ว ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ อาจเกิดผลทั้งในระยะสั้นและระยะยาวหรืออาจถึงกับชีวิตได้ นอกจากนั้นร้านจำหน่ายอาหารยังมีการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร ซึ่งโฟม เป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากพลาสติกประเภทโพลีสไตรีน (Polystyrene: PS) หากถูกนำไปใช้บรรจุอาหารที่ร้อนจัดและอาหารทอดที่มีน้ำมันเป็นส่วนประกอบ จะเกิดปฏิกิริยาที่ทำให้สารอันตรายแตกตัวออกมาปนเปื้อนกับอาหาร ได้แก่ สารเบนซีน (Benzene) หากกินอาหารที่มีสารเบนซีนปนเปื้อนสูง จะทำให้เกิดอาการปวดท้อง เนื่องจากกระเพาะอาหารถูกกัดกร่อน เวียนศีรษะ คลื่นไส้ และอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ แต่สารที่เป็นอันตรายที่สุด คือ สารสไตรีน (Styrene) มีพิษทำลายไขกระดูก ตับ และไต ทำให้ความจำเสื่อม มีผลต่อการเต้นของหัวใจ และเป็นสารก่อ มะเร็ง โดยอาจก่อให้เกิดมะเร็งเส้นเลือดขาวและมะเร็งต่อมน้ำเหลืองได้ การบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยมีคุณค่าตามหลักโภชนาการและปราศจากสารปนเปื้อนนั้น จึงจำเป็นต้องมีระบบการดูแล ควบคุม ตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารทุกกระบวนการเพื่อให้ประชาชนสามารถจัดหาอาหารที่สะอาดปลอดภัยมาบริโภคได้ สำหรับผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานก็ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆแก่ผู้ใช้ได้
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลน้ำน้อย ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยมีคุณค่าทางโภชนาการและปราศจากสารปนเปื้อน และมีการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้มาตรฐาน จึงได้จัดโครงการผู้บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ เพื่อเป็นการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหารในชุมชนร้านอาหารผ่านเกณฑ์ Clean food good taste และเลิกใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหารและเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ขายในร้านชำ ในตำบลน้ำน้อยต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1. เพื่อให้แกนนำมีความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหาร ข้อที่ 2. เพื่อเฝ้าระวังสารปนเปื้อนอาหาร ข้อที่ 3. เพื่อให้ร้านอาหารผ่านเกณฑ์ Clean food good taste ข้อที่ 4. เพื่อให้ร้านอาหารเป็นร้านอาหารปลอดโฟม ข้อที่ 5. เพื่อให้ร้านชำผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ กิจกรรมอบรมให้ความรู้แกนนำส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง อาหารปลอดภัยและผลิตภัณฑ์สุขภาพ - แกนนำส่งเสริมสุขภาพ จำนวน 25คน - วิทยากร จำนวน 1 คน - ผู้เข้าร่วม/ประธาน จำนวน…5...คน 2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านชำ กิจกรรมอ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แกนนำมีความรู้เรื่องสารปนเปื้อนในอาหาร
- มีการตรวจสารปนเปื้อนในอาหารทุก 3 เดือน
- ร้านอาหารผ่านเกณฑ์ Clean food good taste
- ร้านอาหารปลอดโฟม
- ร้านชำผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1. เพื่อให้แกนนำมีความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหาร ข้อที่ 2. เพื่อเฝ้าระวังสารปนเปื้อนอาหาร ข้อที่ 3. เพื่อให้ร้านอาหารผ่านเกณฑ์ Clean food good taste ข้อที่ 4. เพื่อให้ร้านอาหารเป็นร้านอาหารปลอดโฟม ข้อที่ 5. เพื่อให้ร้านชำผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ
1. แกนนำมีความรู้เรื่องสารปนเปื้อนในอาหารเพิ่มขึ้นร้อยละ 90
2. มีการตรวจสารปนเปื้อนในอาหารทุก 3 เดือน
3. ร้านอาหารผ่านเกณฑ์ Clean food good taste ร้อยละ 80
4. ร้านอาหารเป็นร้านอาหารปลอดโฟม ร้อยละ 80
5. ร้านชำผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว ร้อยละ 50
50.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1. เพื่อให้แกนนำมีความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหาร ข้อที่ 2. เพื่อเฝ้าระวังสารปนเปื้อนอาหาร ข้อที่ 3. เพื่อให้ร้านอาหารผ่านเกณฑ์ Clean food good taste ข้อที่ 4. เพื่อให้ร้านอาหารเป็นร้านอาหารปลอดโฟม ข้อที่ 5. เพื่อให้ร้านชำผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ กิจกรรมอบรมให้ความรู้แกนนำส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง อาหารปลอดภัยและผลิตภัณฑ์สุขภาพ - แกนนำส่งเสริมสุขภาพ จำนวน 25คน - วิทยากร จำนวน 1 คน - ผู้เข้าร่วม/ประธาน จำนวน…5...คน 2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านชำ กิจกรรมอ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการผู้บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพรพ.สต.น้ำน้อย จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L8404-1-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวสุกัญญา หมานสะยะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการผู้บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพรพ.สต.น้ำน้อย ”
รพสต.น้ำน้อย ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุกัญญา หมานสะยะ
สิงหาคม 2562
ที่อยู่ รพสต.น้ำน้อย ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L8404-1-10 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผู้บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพรพ.สต.น้ำน้อย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน รพสต.น้ำน้อย ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพรพ.สต.น้ำน้อย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผู้บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพรพ.สต.น้ำน้อย " ดำเนินการในพื้นที่ รพสต.น้ำน้อย ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L8404-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 53,473.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาหารมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพ เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ชีวิตดำรงอยู่ได้ แต่หากอาหารนั้นมีสารที่เป็นอันตรายปนเปื้อน หรือแม้แต่มีสารที่อนุญาตให้ใช้ในอาหารได้แต่มีปริมาณที่มากกว่าที่กำหนดก็ย่อมให้เกิดพิษภัยกับผู้บริโภค รวมทั้งผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน มีสารต้องห้ามส่งผลต่อคุณภาพชีวิต การส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดีไม่เจ็บป่วย เป็นสิ่งที่รัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องให้การสนับสนุน ควบคุม ดูแล เฝ้าระวัง และป้องกัน ให้กับประชาชน เน้นให้ประชาชนได้บริโภคอาหาร ปลอดภัย มีคุณค่าอย่างทั่วถึง และมีการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพ ปราศจากสารต้องห้ามที่เป็นพิษต่อสุขภาพ ครอบคลุมทุกพื้นที่
ปัจจุบันปัญหาสำคัญที่พบในอาหารสด มักจะมีสารปนเปื้อนอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเมื่อรับประทานเข้าไปแล้ว ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ อาจเกิดผลทั้งในระยะสั้นและระยะยาวหรืออาจถึงกับชีวิตได้ นอกจากนั้นร้านจำหน่ายอาหารยังมีการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร ซึ่งโฟม เป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากพลาสติกประเภทโพลีสไตรีน (Polystyrene: PS) หากถูกนำไปใช้บรรจุอาหารที่ร้อนจัดและอาหารทอดที่มีน้ำมันเป็นส่วนประกอบ จะเกิดปฏิกิริยาที่ทำให้สารอันตรายแตกตัวออกมาปนเปื้อนกับอาหาร ได้แก่ สารเบนซีน (Benzene) หากกินอาหารที่มีสารเบนซีนปนเปื้อนสูง จะทำให้เกิดอาการปวดท้อง เนื่องจากกระเพาะอาหารถูกกัดกร่อน เวียนศีรษะ คลื่นไส้ และอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ แต่สารที่เป็นอันตรายที่สุด คือ สารสไตรีน (Styrene) มีพิษทำลายไขกระดูก ตับ และไต ทำให้ความจำเสื่อม มีผลต่อการเต้นของหัวใจ และเป็นสารก่อ มะเร็ง โดยอาจก่อให้เกิดมะเร็งเส้นเลือดขาวและมะเร็งต่อมน้ำเหลืองได้ การบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยมีคุณค่าตามหลักโภชนาการและปราศจากสารปนเปื้อนนั้น จึงจำเป็นต้องมีระบบการดูแล ควบคุม ตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารทุกกระบวนการเพื่อให้ประชาชนสามารถจัดหาอาหารที่สะอาดปลอดภัยมาบริโภคได้ สำหรับผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานก็ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆแก่ผู้ใช้ได้
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลน้ำน้อย ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยมีคุณค่าทางโภชนาการและปราศจากสารปนเปื้อน และมีการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้มาตรฐาน จึงได้จัดโครงการผู้บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ เพื่อเป็นการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหารในชุมชนร้านอาหารผ่านเกณฑ์ Clean food good taste และเลิกใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหารและเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ขายในร้านชำ ในตำบลน้ำน้อยต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1. เพื่อให้แกนนำมีความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหาร ข้อที่ 2. เพื่อเฝ้าระวังสารปนเปื้อนอาหาร ข้อที่ 3. เพื่อให้ร้านอาหารผ่านเกณฑ์ Clean food good taste ข้อที่ 4. เพื่อให้ร้านอาหารเป็นร้านอาหารปลอดโฟม ข้อที่ 5. เพื่อให้ร้านชำผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ กิจกรรมอบรมให้ความรู้แกนนำส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง อาหารปลอดภัยและผลิตภัณฑ์สุขภาพ - แกนนำส่งเสริมสุขภาพ จำนวน 25คน - วิทยากร จำนวน 1 คน - ผู้เข้าร่วม/ประธาน จำนวน…5...คน 2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านชำ กิจกรรมอ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แกนนำมีความรู้เรื่องสารปนเปื้อนในอาหาร
- มีการตรวจสารปนเปื้อนในอาหารทุก 3 เดือน
- ร้านอาหารผ่านเกณฑ์ Clean food good taste
- ร้านอาหารปลอดโฟม
- ร้านชำผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1. เพื่อให้แกนนำมีความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหาร ข้อที่ 2. เพื่อเฝ้าระวังสารปนเปื้อนอาหาร ข้อที่ 3. เพื่อให้ร้านอาหารผ่านเกณฑ์ Clean food good taste ข้อที่ 4. เพื่อให้ร้านอาหารเป็นร้านอาหารปลอดโฟม ข้อที่ 5. เพื่อให้ร้านชำผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1. แกนนำมีความรู้เรื่องสารปนเปื้อนในอาหารเพิ่มขึ้นร้อยละ 90 2. มีการตรวจสารปนเปื้อนในอาหารทุก 3 เดือน 3. ร้านอาหารผ่านเกณฑ์ Clean food good taste ร้อยละ 80 4. ร้านอาหารเป็นร้านอาหารปลอดโฟม ร้อยละ 80 5. ร้านชำผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว ร้อยละ 50 |
50.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1. เพื่อให้แกนนำมีความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหาร ข้อที่ 2. เพื่อเฝ้าระวังสารปนเปื้อนอาหาร ข้อที่ 3. เพื่อให้ร้านอาหารผ่านเกณฑ์ Clean food good taste ข้อที่ 4. เพื่อให้ร้านอาหารเป็นร้านอาหารปลอดโฟม ข้อที่ 5. เพื่อให้ร้านชำผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ กิจกรรมอบรมให้ความรู้แกนนำส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง อาหารปลอดภัยและผลิตภัณฑ์สุขภาพ - แกนนำส่งเสริมสุขภาพ จำนวน 25คน - วิทยากร จำนวน 1 คน - ผู้เข้าร่วม/ประธาน จำนวน…5...คน 2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านชำ กิจกรรมอ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการผู้บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพรพ.สต.น้ำน้อย จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L8404-1-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวสุกัญญา หมานสะยะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......