กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย


“ โครงการ ปิงปอง 7 สี ต้านภัยโรคเบาหวาน ความดันในชุมชน (ม.10 ต.น้ำน้อย ) ”

ศาลาเอนกประสงค์ ม.10 ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางธัชพรรณ ทองแกมแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการ ปิงปอง 7 สี ต้านภัยโรคเบาหวาน ความดันในชุมชน (ม.10 ต.น้ำน้อย )

ที่อยู่ ศาลาเอนกประสงค์ ม.10 ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L8404-2-15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ปิงปอง 7 สี ต้านภัยโรคเบาหวาน ความดันในชุมชน (ม.10 ต.น้ำน้อย ) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศาลาเอนกประสงค์ ม.10 ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ปิงปอง 7 สี ต้านภัยโรคเบาหวาน ความดันในชุมชน (ม.10 ต.น้ำน้อย )



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ปิงปอง 7 สี ต้านภัยโรคเบาหวาน ความดันในชุมชน (ม.10 ต.น้ำน้อย ) " ดำเนินการในพื้นที่ ศาลาเอนกประสงค์ ม.10 ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L8404-2-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,600.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากผลการดำเนินโครงการปิงปอง 7 สีที่ผ่านมา อสม.หมู่ที่ 10 ตำบลน้ำน้อยได้ลงคัดกรองและเสริมความรู้ชาวบ้าน
ให้เข้าใจถึงโรคกลุ่มไม่ติดต่อเรื้อรังโดยเฉพาะโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงที่อาจจะส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนซึ่งนำไปสู่การเป็นโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจอย่างเฉียบพลัน จนกลายเป็นผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงเพิ่มภาระการดูแลแก่ครอบครัวและคนใกล้ชิดรวมไปถึงชุมชน ด้วยเจตนาของกลุ่มสมาชิกชมรมอสม.หมู่ที่ 10 ตำบลน้ำน้อยที่ตั้งใจมุ่งมั่นจะลดจำนวนผู้ป่วยติดเตียง อันมีสาเหตุ มาจากการละเลยไม่ใส่ใจต่อสุขภาพ หรือการคุมไม่ได้ของภาวะโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงอีกทั้งต้องการ ที่จะเข้าถึงกลุ่มคนที่ไม่เคยได้รับการคัดกรองสุขภาพมาก่อน เพื่อประเมินปัญหาสุขภาพชุมชน สภาพชีวิตความเป็นอยู่ของคนในชุมชนหมู่ที่ 10 เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปรับเปลี่ยนชุมชนด้านสุขภาพให้ดียิ่งๆขึ้นไป โดยการลงคัดกรองแยกตามพื้นที่อย่างใกล้ชิด พบว่าจากจำนวนประชากรหมู่ที่ 10 ที่มีอายุ 35 ขึ้นไป มีมากถึง 943 คน แต่เข้ารับการคัดกรองเพียงแค่ 312 คน ซึ่งยังไม่ถึง 50 % ของจำนวนประชากรกลุ่มเป้าหมายด้วยเหตุที่ประชาชนส่วนใหญ่ยังมองไม่เห็นความสำคัญ ต่อการประสานความร่วมมือด้านความใส่ใจในการดูแลสุขภาพตนเอง และยังขาดความรู้ความเข้าใจถึงปัญหาของโรค การใช้ยาอย่างถูกวิธี และการปรับเปลี่ยนตนเองอย่างไรเพื่อให้ไกลจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้
และด้วยเหตุที่ทางชมรมของเรายังคงขาดแคลนเครื่องมือในการปฏิบัติหน้าที่ จึงไม่สามารถตรวจคัดกรองรองรับได้ตามจำนวนทั้งหมดของประชาชนตามกลุ่มเป้าหมายได้ด้วยเหตุนี้ทางชมรมอสม.หมู่ที่ 10จึงของบประมาณเพื่อสนับสนุนในการดำเนินโครงการปิงปอง 7 สี ปีพ.ศ. 2562 ต่อไป โดยมีจำนวนผู้ป่วยเรื้อรังที่ยังคุมอาการไม่ได้อีก 26 คน ผู้ป่วยรายใหม่ของปี 2561 อีก 10 คน กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงอีก 119 คน และกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 34 คน จำนวนรวมสูงถึงเกือบ 200ราย และประชากรกลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่ได้รับการคัดกรองอีกจำนวน 631 รายที่ยังคงต้องเฝ้าระวังติดตามผลอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นการต่อยอดสู่การพัฒนาชุมชนด้านสุขภาพอย่างสมบูรณ์ ให้ปลอดจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยโครงการปิงปอง 7 สีปี 2562 นี้ จะเน้นการให้ความรู้ชาวบ้านเพื่อนำไปสู่การกระตุ้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และจะเน้นการเข้าถึงเชิงรุกโดยการติดตามเฝ้าระวัง เยี่ยมบ้านให้กำลังผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้ป่วยทั้งรายเก่าและใหม่ รวมไปถึงผู้มีภาวะเสี่ยง เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นด้านสุขภาพ ทั้งนี้การดำเนินโครงการนี้เหมือนเป็นพันธกิจสัญญาว่า เราจะร่วมดูแลสุขภาพของชาวบ้านในชุมชน เพื่อการพัฒนาศักยภาพสร้างคนที่มีคุณภาพและมีสุขภาพที่ดีถ้วนหน้า นำไปสู่การสร้างชุมชนที่เข้มแข็งและยั่งยืนสืบไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนในพื้นที่ สนใจดูแลสุขภาพ ออกมาตรวจวัดความดันและน้ำตาลอย่างสม่ำเสมอ ข้อที่ 2 ลดการเกิดผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ข้อที่3 ลดการเกิดผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแบบเฉียบพลัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ประชุมวางแผนการดำเนินงานตามโครงการ 1.1 กิจกรรมย่อย - ประชุมวางแผนการดำเนินโครงการ เจ้าหน้าที่รพสต. อสม.หมู่ที่ 10 และแกนนำชาวบ้าน รวม 25 คน - วิเคราะห์ปัญหาแก้ไขพัฒนาศักยภาพ - สรุปจำนวนผู้ต้องเฝ้าระวังติดตาม/แบ่งหน้าที่ - ซ้อมเตรียมความพร้อมก่อนลงพื้นที

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรู้และตื่นตัวในการเฝ้าระวังโรคเบาหวานความดันมากขึ้น 2.ไม่เกิดหรือลดจำนวนผู้ป่วยเบาหวาน ความดัน รายใหม่ในปีงบประมาณ 2562-2563 ในกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ รับผิดชอบ 3.เกิดแกนนำส่งเสริมสุขภาพในชุมชนที่เข้มแข็ง 4.เกิดมาตรการทางสังคมในการสร้างสุขภาพของชุมชน 5. ประชาชนเริ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพในทางที่ดีขึ้นและเริ่มใส่ใจดูแลสุขภาพตนเองมากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนในพื้นที่ สนใจดูแลสุขภาพ ออกมาตรวจวัดความดันและน้ำตาลอย่างสม่ำเสมอ ข้อที่ 2 ลดการเกิดผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ข้อที่3 ลดการเกิดผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแบบเฉียบพลัน
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนที่อายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชนได้รับการคัดกรองเบาหวาน ความดัน ร้อยละ 100ในปี 2562 2 กลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดัน เกิดภาวะแทรกซ้อนเป็นผู้ป่วยติดเตียง ร้อยละ 0 ในปี 25621.ไม่เกิดผ้ืป่วยโรคความดันรายใหม่มากกว่า 5 คนต่อปี 2.ไม่เกิดผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่มากกว่า 5 คนต่อปี 1.จำนวนผู้ป่วยที่รพ.ส่งกลับมาติดตามเยี่ยมจากภาวะ แทรกซ้อนของโรคเบาหวาน ความดันไม่เกิน 5 คนต่อปี
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนในพื้นที่ สนใจดูแลสุขภาพ ออกมาตรวจวัดความดันและน้ำตาลอย่างสม่ำเสมอ ข้อที่ 2 ลดการเกิดผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ข้อที่3 ลดการเกิดผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแบบเฉียบพลัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ประชุมวางแผนการดำเนินงานตามโครงการ 1.1 กิจกรรมย่อย - ประชุมวางแผนการดำเนินโครงการ เจ้าหน้าที่รพสต. อสม.หมู่ที่ 10 และแกนนำชาวบ้าน รวม 25 คน - วิเคราะห์ปัญหาแก้ไขพัฒนาศักยภาพ - สรุปจำนวนผู้ต้องเฝ้าระวังติดตาม/แบ่งหน้าที่ - ซ้อมเตรียมความพร้อมก่อนลงพื้นที

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ปิงปอง 7 สี ต้านภัยโรคเบาหวาน ความดันในชุมชน (ม.10 ต.น้ำน้อย ) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L8404-2-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางธัชพรรณ ทองแกมแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด