กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการชีวิตสดใสในการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ ”
ชมรมผู้สูงอายุรักสุขภาพน้ำน้อย ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางนันทภัค เขียวเทพ ประธานชมรมผู้สูงอายุรักสุขภาพน้ำน้อย




ชื่อโครงการ โครงการชีวิตสดใสในการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ

ที่อยู่ ชมรมผู้สูงอายุรักสุขภาพน้ำน้อย ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L8404-2-24 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 6 กุมภาพันธ์ 2562

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชีวิตสดใสในการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ชมรมผู้สูงอายุรักสุขภาพน้ำน้อย ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชีวิตสดใสในการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชีวิตสดใสในการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ชมรมผู้สูงอายุรักสุขภาพน้ำน้อย ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L8404-2-24 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 กุมภาพันธ์ 2562 - 6 กุมภาพันธ์ 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,500.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ ช่วยลดโรคที่เกิดจากความชรา ชะลอความเสื่อมของร่างกาย ทำให้หัวใจหลอดเลือดและปอดแข็งแรง รวมถึงช่วยให้การทรงตัวดีขึ้น เดินคล่องแคล่วไม่หกล้ม กระดุกแข็งแรง ชะลอโรคกระดูกพรุน ออกกำลังกายแต่ละชนิดมีประโยชน์ต่อสุขภาพ แตกต่างกัน และยังสามารถใช้เป็นแหล่งแลกเปลี่ยนพบปะกันของผู้สูงอายุ และเชื่อมความสัมพันธ์ให้แน่นแฟ้นกันมากขึ้นอีกด้วย ชมรมผู้สูงอายุรักสุขภาพน้ำน้อย มีจำนวนสมาชิก 224 คน ผู้ชาย 48 คน ผู้หญิง 176 คน มีการออกกำลังกายทุกวันจันทร์ถึงวันศุกร์ โดยใช้การออกกำลังกายแบบไทเก็ก, ตาราง 9 ช่อง,ไลน์แดนซ์ และเพลงจังหวะต่างๆที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ จากการสำรวจพบว่า ผู้สูงอายุชมรมรักสุขภาพน้ำน้อย มีสมาชิกจำนวน 72 คน ที่มีปัญหาสุขภาพ ที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ คือ กลุ่มโรคที่ไม่ติดต่อได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด เจ็บเข่าและปวดเมื่อย เกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูก ไม่เหมาะสม และพื้นฐานการดำเนินชีวิตต้องทำงานหาเลี้ยงครอบครัว หรือดูแลบุตรหลาน บริโภคอาหารที่ไม่ถูกสัดส่วน การดื่มสุราและการไม่ตระหนักถึงความสำคัญของการออกกำลังกาย เป็นต้น
ดังนั้นจึงจัดให้มีการอบรมการออกกำลังกาย ด้วยการรำไม้พลอง และรำวงเปลี่ยนคู่ ที่ถูกต้อง จากเดิมชมรมผู้สูงอายุรักสุขภาพน้ำน้อยได้มีการรำไม้พลองและรำวงเปลี่ยนคู่อยู่แล้ว แต่ยังเป็นการออกกำลังกายจากการเรียนรู้ จดจำด้วยตนเอง ไม่มีการฝึกสอนที่ถูกต้อง การออกกำลังกายทั้งสองแบบนี้ นอกจากจะทำให้เกิดความสนุกสนานแล้ว ยังให้สุขภาพดี จึงต้องการอนุรักษ์ศิลปะวัฒนธรรม การรำไม้พลอง และรำวงเปลี่ยนคู่ไว้ เพื่อให้ผู้สูงอายุได้นำไปเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุด้วยกัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพปฏิบัติตนเพื่อลดภาวะการเกิดโรค ข้อที่ 2. เพื่ออบรมให้ความรู้เรื่องสิทธิผู้สูงอายุตามพ.ร.บ. ข้อที่ 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุมาพบปะและทำกิจกรรมร่วมกัน ข้อที่ 4. เพื่อให้ผู้สูงอายุ ฝึกปฏิบัติออกกำลังกายด้วยการรำไม้พลองและรำวงเปลี่ยนคู่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าดำเนินการโครงการชีวิตสดใสในการออกกำลังกายของผู้สูงอายุในการจัดอบรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 52
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุมีสุขภาพทั้งกายและใจ 2.ผู้สูงอายุสามารถถ่ายทอดความรู้เรื่องการออกกำลังกายและมีกลุ่มทำกิจกรรมการออกกำลังกายที่เป็นแบบอย่างที่ดีในครอบครัวและชุมชน 3.ผู้สูงอายุมีกิจกรรมออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง 4.ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรงและมีความสุข


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค่าดำเนินการโครงการชีวิตสดใสในการออกกำลังกายของผู้สูงอายุในการจัดอบรม

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

วิทยากรบรรยาย เรื่องสิทธิผู้สูงอายุ ตาม พ.ร.บ.และการดูแลสุขภาพ ให้ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายด้วยการรำไม้พลองและรำวงเปลี่ยนคู่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมอบรม 50 คน ความพึงพอใจเกิน 80 เปอร์เซ็นต์ คิดเป็นร้อยละ 97.14
1.สมาชิกผู้เข้าร่วมมีความสุข ทั้งสุขกายสุขใจ 2.เป็นแบบอย่างที่ดีในการออกกำลังกาย ให้กับครอบครัวและชุมชน 3.ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรงและมีความสุข ปัญหาอุปสรรคและวิธีการแก้ไขปัญหา
1.สถานที่คับแคบ แก้ไข โดยการแบ่งกลุ่ม เป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 25-30 คน 2.งบประมาณที่แจ้งขอรับ มีคำนวณผิดพลาด แก้ไข ใช้งบประมาณของผู้สูงอายุส่วนของชมรม

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

โครงการดำเนินการไปด้วยความเรียบร้อย น่าพอใจ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพปฏิบัติตนเพื่อลดภาวะการเกิดโรค ข้อที่ 2. เพื่ออบรมให้ความรู้เรื่องสิทธิผู้สูงอายุตามพ.ร.บ. ข้อที่ 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุมาพบปะและทำกิจกรรมร่วมกัน ข้อที่ 4. เพื่อให้ผู้สูงอายุ ฝึกปฏิบัติออกกำลังกายด้วยการรำไม้พลองและรำวงเปลี่ยนคู่
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1.ผู้สูงอายุเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเองการดูแลซึ่งกันและกันในกลุ่มมากขึ้น ร้อยละ60 2.ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้ไปแนะนำครอบครัวได้ร้อยละ 60 2.ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้ไปแนะนำครอบครัวได้ 4.ผู้สูงอายุสามารถถ่ายทอดความรู้เรื่องการออกกำลังกายแกสมาชิกในชมรมได้ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มขึ้นร้อยละ 60
60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 52 52
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 52 52
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพปฏิบัติตนเพื่อลดภาวะการเกิดโรค ข้อที่ 2. เพื่ออบรมให้ความรู้เรื่องสิทธิผู้สูงอายุตามพ.ร.บ. ข้อที่ 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุมาพบปะและทำกิจกรรมร่วมกัน ข้อที่ 4. เพื่อให้ผู้สูงอายุ ฝึกปฏิบัติออกกำลังกายด้วยการรำไม้พลองและรำวงเปลี่ยนคู่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าดำเนินการโครงการชีวิตสดใสในการออกกำลังกายของผู้สูงอายุในการจัดอบรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชีวิตสดใสในการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L8404-2-24

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนันทภัค เขียวเทพ ประธานชมรมผู้สูงอายุรักสุขภาพน้ำน้อย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด