โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโรคอ้วนในเด็กวัยเรียน "วัยใส ไร้พุง" เขตเทศบาลเมืองตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ปี 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโรคอ้วนในเด็กวัยเรียน "วัยใส ไร้พุง" เขตเทศบาลเมืองตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ปี 2560 ”
อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางหนึ่งฤทัย นิลกาญจน์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองตากใบ
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโรคอ้วนในเด็กวัยเรียน "วัยใส ไร้พุง" เขตเทศบาลเมืองตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ปี 2560
ที่อยู่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L7487-01-13 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโรคอ้วนในเด็กวัยเรียน "วัยใส ไร้พุง" เขตเทศบาลเมืองตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ปี 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองตากใบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโรคอ้วนในเด็กวัยเรียน "วัยใส ไร้พุง" เขตเทศบาลเมืองตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโรคอ้วนในเด็กวัยเรียน "วัยใส ไร้พุง" เขตเทศบาลเมืองตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L7487-01-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 54,925.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองตากใบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สืบเนื่องจากการจัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โรคอ้วนในเด็กวัยเรียน “วัยใส ไร้พุง” ในปีงบประมาณ 2559 ณ โรงเรียนตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จำนวนเป้าหมาย 250 รายนั้น กลุ่มเป้าหมายมีความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. ได้ดีขึ้น จำนวน 240 ราย คิดเป็นร้อยละ 96 พบกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะโภชนาการเกิน เริ่มอ้วน และอ้วน จำนวน 60 ราย คิดเป็นร้อยละ 24 ระยะเวลาดำเนินโครงการ 4 เดือน มีนักเรียนที่อยู่ในกลุ่มสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ น้ำหนกลดลง 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 8.3 น้ำหนักเท่าเดิม 44 ราย คิดเป็นร้อยละ 73.3 น้ำหนักเพิ่มขึ้น 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.6 ส่งต่อนักเรียนในกลุ่มเสี่ยงและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้สมัครใจเข้าคลินิกไร้พุงโรงพยาบาลตากใบ2 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.3 นักเรียนในกลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในการจัดโครงการจำนวน 244 รายคิดเป็นร้อยละ 97.6 ทางคลินิกไร้พุงโรงพยาบาลตากใบพอใจกับผลการดำเนินงาน จะเห็นได้ว่าจากกลุ่มเป้าหมาย 250 รายนั้น ได้รับความรู้และมีความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส.เพิ่มขึ้นร้อยละ 96 และมีความพึงพอใจกับการทำโครงการ ร้อยละ 97.6 จึงควรเพิ่มจำนวนกลุ่มเป้าหมายเป็นโรงเรียนมัธยมในเขตเทศบาลทั้งหมดเพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. เพื่อลดการเกินภาวะโภชนาการเกิน เริ่มอ้วน และอ้วน เนื่องจาก
โรคอ้วนในเด็กเป็นหนึ่งในปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญและเป็นความท้าทายในการจัดการปัญหาดังกล่าวในศตวรรษที่ 21 มีการแพร่ระบาดของโรคอ้วนไปทั่วโลก และเพิ่มขึ้นกว่า เท่าตัวในรอบ 3 ทศวรรษที่ผ่านมาทำให้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในหลายๆ ประเทศ รวมทั้งประเทศไทย ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกปี โดยเฉพาะเด็กวัยเรียน การแพร่กระจายของปัญหาภาวะอ้วนส่วนใหญ่จะพบมากในเขตเมืองทุกภูมิภาคของประเทศจากการศึกษาวิจัยในต่างประเทศพบว่าเด็กอ้วน 1 ใน 4 จะมีโอกาสเป็นผู้ใหญ่ที่อ้วน และหากเป็นวัยรุ่นอ้วนจะมีโอกาสสูงถึง 3 ใน 4 ผลกระทบจากการเป็นโรคอ้วนจะทำให้เกิดปัญหาทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และเศรษฐกิจทางด้านร่างกายพบว่าโรคอ้วนที่เกิดขึ้นในเด็กเป็นสาเหตุสำคัญของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอื่นๆ เช่นเดียวกับที่เกิดขึ้นในผู้ใหญ่ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคปอดและทางเดินหายใจอุดตัน หัวใจวาย โรคกระดูกและข้อ โรคผิวหนังที่มีลักษณะผิวคล้ำหนาเหมือนกำมะหยี่ บริเวณซอกคอ รักแร้ ข้อพับต่างๆ และขาหนีบ หรือAcanthosisnigricansเป็นต้นในเด็กอายุ 5-17 ปี พบว่าเด็กอ้วนมีปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหัวใจ และหลอดเลือดมากกว่าเด็กปกติ โดยมีแนวโน้มเป็นโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น 2-4.5 เท่า และภาวะไขมันในเลือดสูงเพิ่มขึ้น 3-7 เท่าทางด้านจิตใจพบว่าโรคอ้วนทำให้เสียบุคลิกภาพและถูกล้อเลียน จึงทำให้เด็กเกิดปมด้อยและมีความกดดันเด็กอ้วนบางคนแยกตัวออกจากกลุ่มเพื่อน มีปัญหาในการเข้าสังคมในเด็กที่อ้วนรุนแรงจะมีผลกระทบต่อระบบทางเดินหายใจ ทำให้นอนกรน เนื่องจากร่างกายได้รับออกซิเจนน้อยเกิดการคั่งของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และหยุดหายใจขณะหลับเป็นช่วงๆ อาการเหล่านี้จัดอยู่ในกลุ่มที่เรียกว่าPickwickian Syndrome ซึ่งบางคนอาจมีอาการทางไตร่วมด้วย ผลเสียจากเกิดภาวะดังกล่าว ทำให้เด็กนอนหลับไม่เพียงพอ และจะนั่งหลับทุกครั้งเมื่อนั่งเรียนทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตกต่ำผลกระทบต่อเศรษฐกิจ เด็กอ้วนที่ป่วยเป็นโรคแทรกซ้อนทำให้ ครอบครัวต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น และทำให้ รัฐบาลต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลโรคเรื้อรังอันเกิดจากโรคอ้วนหลายพันล้านบาทต่อปีกรมอนามัย เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำแนวทางการคัดกรอง ส่งต่อ และแก้ปัญหาเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยง ในสถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุข และคลินิก DPAC เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพเด็กวัยเรียน สามารถคัดกรองเบื้องต้น ช่วยเหลือ ส่งต่อเข้าระบบบริการสาธารณสุข โดยใช้เครื่องมือที่ง่ายและเหมาะสม สามารถคัดกรองความเสี่ยง และจำแนกเด็กอ้วนที่มีปัญหาโรคแทรกซ้อนออกจากเด็กอ้วนที่ไม่มีโรคแทรกซ้อนได้รวดเร็ว และส่งต่อเพื่อเข้ารับการรักษาได้ทันท่วงที จะช่วยป้องกันเด็กวัยเรียนทั้งประเทศมิให้เป็นโรคอ้วนขั้นรุนแรง (Morbid obesity) ที่มีโรคแทรกซ้อนและเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
ดังนั้น จึงจัดโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โรคอ้วนในเด็กวัยเรียน “วัยใส ไร้พุง”เพื่อให้ความรู้ ทักษะและสร้างเจตคติที่ดีในการดูแลสุขภาพ การออกกำลังกาย การรับประทานอาหาร และการเปลี่ยนแปลงการบริโภคอาหารให้กับนักเรียน ครู ผู้ปกครอง เพื่อร่วมกันปลูกจิตสำนึกในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และลดปัญหาภาวะโภชนาการเกินของนักเรียน เพื่อให้นักเรียนเติมโตอย่างมีศักยภาพ มีสุขภาพอนามัยที่สมบรูณ์ แข็งแรง และมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไปในอนาคต เพื่อเป็นกำลังที่สำคัญที่จะพัฒนาประเทศชาติสืบไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ปลูกจิตสำนึกนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- 2.เพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการที่มีภาวะโรคอ้วน/ภาวะน้ำหนักเกินมีความรู้ในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ที่ถูกต้อง
- 3. เพื่อช่องทางนำนักเรียนที่มีภาวะโรคอ้วนเข้าสู่คลินิกไร้พุงของโรงพยาบาลตากใบ เพื่อให้ได้รับการดูแลที่เฉพาะและเหมาะสมต่อไป
- 4. เพื่อส่งเสริมนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการนำความรู้ลงสู่ครอบครัว ชุมชน สังคมต่อไป
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
1,797
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้ปลูกจิตสำนึกนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
2
2.เพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการที่มีภาวะโรคอ้วน/ภาวะน้ำหนักเกินมีความรู้ในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
3
3. เพื่อช่องทางนำนักเรียนที่มีภาวะโรคอ้วนเข้าสู่คลินิกไร้พุงของโรงพยาบาลตากใบ เพื่อให้ได้รับการดูแลที่เฉพาะและเหมาะสมต่อไป
ตัวชี้วัด :
4
4. เพื่อส่งเสริมนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการนำความรู้ลงสู่ครอบครัว ชุมชน สังคมต่อไป
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1797
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
1,797
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ปลูกจิตสำนึกนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (2) 2.เพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการที่มีภาวะโรคอ้วน/ภาวะน้ำหนักเกินมีความรู้ในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ที่ถูกต้อง (3) 3. เพื่อช่องทางนำนักเรียนที่มีภาวะโรคอ้วนเข้าสู่คลินิกไร้พุงของโรงพยาบาลตากใบ เพื่อให้ได้รับการดูแลที่เฉพาะและเหมาะสมต่อไป (4) 4. เพื่อส่งเสริมนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการนำความรู้ลงสู่ครอบครัว ชุมชน สังคมต่อไป
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโรคอ้วนในเด็กวัยเรียน "วัยใส ไร้พุง" เขตเทศบาลเมืองตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ปี 2560 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L7487-01-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางหนึ่งฤทัย นิลกาญจน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโรคอ้วนในเด็กวัยเรียน "วัยใส ไร้พุง" เขตเทศบาลเมืองตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ปี 2560 ”
อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางหนึ่งฤทัย นิลกาญจน์
กันยายน 2560
ที่อยู่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L7487-01-13 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโรคอ้วนในเด็กวัยเรียน "วัยใส ไร้พุง" เขตเทศบาลเมืองตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ปี 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองตากใบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโรคอ้วนในเด็กวัยเรียน "วัยใส ไร้พุง" เขตเทศบาลเมืองตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโรคอ้วนในเด็กวัยเรียน "วัยใส ไร้พุง" เขตเทศบาลเมืองตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L7487-01-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 54,925.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองตากใบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สืบเนื่องจากการจัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โรคอ้วนในเด็กวัยเรียน “วัยใส ไร้พุง” ในปีงบประมาณ 2559 ณ โรงเรียนตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จำนวนเป้าหมาย 250 รายนั้น กลุ่มเป้าหมายมีความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. ได้ดีขึ้น จำนวน 240 ราย คิดเป็นร้อยละ 96 พบกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะโภชนาการเกิน เริ่มอ้วน และอ้วน จำนวน 60 ราย คิดเป็นร้อยละ 24 ระยะเวลาดำเนินโครงการ 4 เดือน มีนักเรียนที่อยู่ในกลุ่มสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ น้ำหนกลดลง 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 8.3 น้ำหนักเท่าเดิม 44 ราย คิดเป็นร้อยละ 73.3 น้ำหนักเพิ่มขึ้น 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.6 ส่งต่อนักเรียนในกลุ่มเสี่ยงและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้สมัครใจเข้าคลินิกไร้พุงโรงพยาบาลตากใบ2 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.3 นักเรียนในกลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในการจัดโครงการจำนวน 244 รายคิดเป็นร้อยละ 97.6 ทางคลินิกไร้พุงโรงพยาบาลตากใบพอใจกับผลการดำเนินงาน จะเห็นได้ว่าจากกลุ่มเป้าหมาย 250 รายนั้น ได้รับความรู้และมีความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส.เพิ่มขึ้นร้อยละ 96 และมีความพึงพอใจกับการทำโครงการ ร้อยละ 97.6 จึงควรเพิ่มจำนวนกลุ่มเป้าหมายเป็นโรงเรียนมัธยมในเขตเทศบาลทั้งหมดเพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. เพื่อลดการเกินภาวะโภชนาการเกิน เริ่มอ้วน และอ้วน เนื่องจาก โรคอ้วนในเด็กเป็นหนึ่งในปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญและเป็นความท้าทายในการจัดการปัญหาดังกล่าวในศตวรรษที่ 21 มีการแพร่ระบาดของโรคอ้วนไปทั่วโลก และเพิ่มขึ้นกว่า เท่าตัวในรอบ 3 ทศวรรษที่ผ่านมาทำให้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในหลายๆ ประเทศ รวมทั้งประเทศไทย ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกปี โดยเฉพาะเด็กวัยเรียน การแพร่กระจายของปัญหาภาวะอ้วนส่วนใหญ่จะพบมากในเขตเมืองทุกภูมิภาคของประเทศจากการศึกษาวิจัยในต่างประเทศพบว่าเด็กอ้วน 1 ใน 4 จะมีโอกาสเป็นผู้ใหญ่ที่อ้วน และหากเป็นวัยรุ่นอ้วนจะมีโอกาสสูงถึง 3 ใน 4 ผลกระทบจากการเป็นโรคอ้วนจะทำให้เกิดปัญหาทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และเศรษฐกิจทางด้านร่างกายพบว่าโรคอ้วนที่เกิดขึ้นในเด็กเป็นสาเหตุสำคัญของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอื่นๆ เช่นเดียวกับที่เกิดขึ้นในผู้ใหญ่ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคปอดและทางเดินหายใจอุดตัน หัวใจวาย โรคกระดูกและข้อ โรคผิวหนังที่มีลักษณะผิวคล้ำหนาเหมือนกำมะหยี่ บริเวณซอกคอ รักแร้ ข้อพับต่างๆ และขาหนีบ หรือAcanthosisnigricansเป็นต้นในเด็กอายุ 5-17 ปี พบว่าเด็กอ้วนมีปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหัวใจ และหลอดเลือดมากกว่าเด็กปกติ โดยมีแนวโน้มเป็นโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น 2-4.5 เท่า และภาวะไขมันในเลือดสูงเพิ่มขึ้น 3-7 เท่าทางด้านจิตใจพบว่าโรคอ้วนทำให้เสียบุคลิกภาพและถูกล้อเลียน จึงทำให้เด็กเกิดปมด้อยและมีความกดดันเด็กอ้วนบางคนแยกตัวออกจากกลุ่มเพื่อน มีปัญหาในการเข้าสังคมในเด็กที่อ้วนรุนแรงจะมีผลกระทบต่อระบบทางเดินหายใจ ทำให้นอนกรน เนื่องจากร่างกายได้รับออกซิเจนน้อยเกิดการคั่งของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และหยุดหายใจขณะหลับเป็นช่วงๆ อาการเหล่านี้จัดอยู่ในกลุ่มที่เรียกว่าPickwickian Syndrome ซึ่งบางคนอาจมีอาการทางไตร่วมด้วย ผลเสียจากเกิดภาวะดังกล่าว ทำให้เด็กนอนหลับไม่เพียงพอ และจะนั่งหลับทุกครั้งเมื่อนั่งเรียนทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตกต่ำผลกระทบต่อเศรษฐกิจ เด็กอ้วนที่ป่วยเป็นโรคแทรกซ้อนทำให้ ครอบครัวต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น และทำให้ รัฐบาลต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลโรคเรื้อรังอันเกิดจากโรคอ้วนหลายพันล้านบาทต่อปีกรมอนามัย เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำแนวทางการคัดกรอง ส่งต่อ และแก้ปัญหาเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยง ในสถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุข และคลินิก DPAC เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพเด็กวัยเรียน สามารถคัดกรองเบื้องต้น ช่วยเหลือ ส่งต่อเข้าระบบบริการสาธารณสุข โดยใช้เครื่องมือที่ง่ายและเหมาะสม สามารถคัดกรองความเสี่ยง และจำแนกเด็กอ้วนที่มีปัญหาโรคแทรกซ้อนออกจากเด็กอ้วนที่ไม่มีโรคแทรกซ้อนได้รวดเร็ว และส่งต่อเพื่อเข้ารับการรักษาได้ทันท่วงที จะช่วยป้องกันเด็กวัยเรียนทั้งประเทศมิให้เป็นโรคอ้วนขั้นรุนแรง (Morbid obesity) ที่มีโรคแทรกซ้อนและเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป ดังนั้น จึงจัดโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โรคอ้วนในเด็กวัยเรียน “วัยใส ไร้พุง”เพื่อให้ความรู้ ทักษะและสร้างเจตคติที่ดีในการดูแลสุขภาพ การออกกำลังกาย การรับประทานอาหาร และการเปลี่ยนแปลงการบริโภคอาหารให้กับนักเรียน ครู ผู้ปกครอง เพื่อร่วมกันปลูกจิตสำนึกในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และลดปัญหาภาวะโภชนาการเกินของนักเรียน เพื่อให้นักเรียนเติมโตอย่างมีศักยภาพ มีสุขภาพอนามัยที่สมบรูณ์ แข็งแรง และมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไปในอนาคต เพื่อเป็นกำลังที่สำคัญที่จะพัฒนาประเทศชาติสืบไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ปลูกจิตสำนึกนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- 2.เพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการที่มีภาวะโรคอ้วน/ภาวะน้ำหนักเกินมีความรู้ในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ที่ถูกต้อง
- 3. เพื่อช่องทางนำนักเรียนที่มีภาวะโรคอ้วนเข้าสู่คลินิกไร้พุงของโรงพยาบาลตากใบ เพื่อให้ได้รับการดูแลที่เฉพาะและเหมาะสมต่อไป
- 4. เพื่อส่งเสริมนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการนำความรู้ลงสู่ครอบครัว ชุมชน สังคมต่อไป
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 1,797 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้ปลูกจิตสำนึกนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 2.เพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการที่มีภาวะโรคอ้วน/ภาวะน้ำหนักเกินมีความรู้ในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | 3. เพื่อช่องทางนำนักเรียนที่มีภาวะโรคอ้วนเข้าสู่คลินิกไร้พุงของโรงพยาบาลตากใบ เพื่อให้ได้รับการดูแลที่เฉพาะและเหมาะสมต่อไป ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | 4. เพื่อส่งเสริมนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการนำความรู้ลงสู่ครอบครัว ชุมชน สังคมต่อไป ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1797 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 1,797 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ปลูกจิตสำนึกนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (2) 2.เพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการที่มีภาวะโรคอ้วน/ภาวะน้ำหนักเกินมีความรู้ในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ที่ถูกต้อง (3) 3. เพื่อช่องทางนำนักเรียนที่มีภาวะโรคอ้วนเข้าสู่คลินิกไร้พุงของโรงพยาบาลตากใบ เพื่อให้ได้รับการดูแลที่เฉพาะและเหมาะสมต่อไป (4) 4. เพื่อส่งเสริมนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการนำความรู้ลงสู่ครอบครัว ชุมชน สังคมต่อไป
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโรคอ้วนในเด็กวัยเรียน "วัยใส ไร้พุง" เขตเทศบาลเมืองตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ปี 2560 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L7487-01-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางหนึ่งฤทัย นิลกาญจน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......