กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน


“ โครงการจัดการขยะต้นทางบ้านโคกเคียน ”

อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสุธิพร เกื้อประโยชน์

ชื่อโครงการ โครงการจัดการขยะต้นทางบ้านโคกเคียน

ที่อยู่ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2492-2-20 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 เมษายน 2562 ถึง 30 เมษายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดการขยะต้นทางบ้านโคกเคียน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดการขยะต้นทางบ้านโคกเคียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดการขยะต้นทางบ้านโคกเคียน " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2492-2-20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 เมษายน 2562 - 30 เมษายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยมีการเพิ่มขึ้นของอัตราประชากร การขยายตัวด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาอุตสาหกรรมและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทำให้ในประเทศไทย ประสบปัญหาเรื่องมลภาวะโดยเฉพาะเรื่องของขยะมูลฝอยซึ่งเพิ่มจำนวนขึ้นมากขึ้นทุกปี อีกทั้งการกำจัดขยะมูลฝอยกลับไม่ได้กำจัดแบบถูกสุขลักษณะ เช่น การกองไว้กลางแจ้ง การเผา การฝังที่ไม่ถูกหลักสุขาภิบาลซึ่งปัญหาเหล่านี้ต้องเร่งแก้ไขโดยด่วน อีกทั้งความตระหนักและจิตสำนึกในการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนยังมีน้อยมาก ไม่เห็นความสำคัญของปัญหา การขาดความร่วมมือจากประชาชน จะทำให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่ต้องตามแก้ไขอยู่ตลอดเวลาและไม่จบสิ้น การส่งเสริมให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนมีการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทางในระดับครัวเรือน การให้สุขศึกษาจะทำให้ประชาชนตระหนักและเข้าใจสภาพปัญหาหรือผลกระทบที่เกิดขึ้นมีความสนใจและใส่ใจในการปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอในรูปแบบที่แตกต่างกัน จะสามารถลดปริมาณขยะที่จะนำไปกำจัดลงได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ
  3. เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบในจัดการขยะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้การจัดการขยะต้นทาง
  2. การสาธิตทำน้ำหมักชีวภาพจากขยะอินทรีย์
  3. สร้างครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ปริมาณขยะที่ครัวเรือนผลิตต่อวันลดลง
  2. ประชาชนมีพฤติกรรมแยกขยะถูกต้องเพิ่มขึ้น
  3. จำนวนครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะถูกต้องเพิ่มขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้ความรู้การจัดการขยะต้นทาง

วันที่ 29 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ค่าวิทยากร 5 ชม.ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3000 บาท
2.ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1x3 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 750 บาท
3.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อๆละ 50 บาท 50 คน เป็นเงิน 2500 บาท
4.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท 50 คน เป็นเงิน 2500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ประชาชนมีความรู้ในการจัดการขยะตามหลักวิชาการได้อย่างถูกต้อง
  • ประชาชนมีพฤติกรรมแยกขยะถูกต้องเพิ่มขึ้น ร้อยละ 20

 

50 0

2. การสาธิตทำน้ำหมักชีวภาพจากขยะอินทรีย์

วันที่ 30 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ค่าวิทยากร 3 ชม.ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1800 บาท
2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 1 มื้อๆละ 25 บาท 20 คน เป็นเงิน 500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนสามารถนำขยะอินทรีย์มาทำเป็นน้ำหมักชีวภาพมาใช้ในครัวเรือน

 

20 0

3. สร้างครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะ

วันที่ 30 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ค่าถังหมักที่มีฝาปิดสนิทขนาด 56 ลิตร บาท จำนวน 20 ใบๆ ละ 155 บาท เป็นเงิน 3100 บาท
2.ค่ากากน้ำตาล จำนวน 20 ลิตรๆละ 75 บาท เป็นเงิน 1500 บาท
3.ค่าเชื้อจุลินทรีย์ จำนวน 20 ลิตรๆละ 90 บาท เป็นเงิน 1800 บาท
4.ค่าถุงขยะดำ ขนาด 30 นิ้ว x 40 นิ้ว จำนวน 20 แพ็คๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 1000 บาท
5.ค่าธงเขียวครัวเรือนต้นแบบ 20 อันๆ ละ 80 บาท เป็นเงิน 1600 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เกิดครัวเรือนตัวอย่างขึ้นในชุมชนและเป็นต้นแบบที่สามารถส่งต่อองค์ความรู้ให้ครัวเรือนอื่นในชุมชน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน
ตัวชี้วัด : ปริมาณขยะที่ครัวเรือนผลิตได้ต่อวัน (ก.ก.)
3.00 1.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ
ตัวชี้วัด : จำนวนประชาชนที่มีพฤติกรรมแยกขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)
0.00 20.00

 

3 เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบในจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : จำนวนครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)
0.00 20.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน (2) เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ (3) เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบในจัดการขยะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้การจัดการขยะต้นทาง (2) การสาธิตทำน้ำหมักชีวภาพจากขยะอินทรีย์ (3) สร้างครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดการขยะต้นทางบ้านโคกเคียน จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2492-2-20

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุธิพร เกื้อประโยชน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด