กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง


“ การประชุมคณะกรรมการกองทุน ”

ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลร่มเมือง

ชื่อโครงการ การประชุมคณะกรรมการกองทุน

ที่อยู่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60-L3360-4-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2559


กิตติกรรมประกาศ

"การประชุมคณะกรรมการกองทุน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การประชุมคณะกรรมการกองทุน



บทคัดย่อ

โครงการ " การประชุมคณะกรรมการกองทุน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3360-4-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปี๒๕๕๑เทศบาลตำบลร่มเมืองสมัครเข้าร่วมกองทุนหลักประกันสุขภาพของสำนักงาน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สาขาเขตพื้นที่สงขลา ซึ่งเป็นกองทุนที่มีวัตถุประสงค์ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ โดยสนับสนุนงบประมาณต่อหัวประชากรและกำหนดให้ทางเทศบาลสมทบอีกอย่างน้อยร้อยละ ๓๐ ของงบประมาณที่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสนับสนุนโดยมีการจัดตั้งคณะกรรมการกองทุนในการบริหารจัดการกองทุนที่ได้รับการคัดเลือกจากประชาชน คณะกรรมการกองทุน ถือเป็นทรัพยากรบุคคลที่สำคัญในการร่วมขับเคลื่อนการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ การมีส่วนร่วมในการดำเนินงานกองทุนเป็นไปในรูปแบบของ - ร่วมประชุมประจำเดือน หรือเฉพาะกิจ เพื่อการรวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพ
- ร่วมแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์แนวทางแก้ไขปัญหา การลงประชามติแสดงความคิดเห็นชอบอนุมัติแผนงาน / โครงการ - ร่วมบริหารการดำเนินโครงการเพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเข้าถึงบริการสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพ - ร่วมบริหารเงินงบประมาณของกองทุนอย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส กองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นการบริหารงานโดยชุมชน เพื่อชุมชน การรับรู้และการมีส่วนร่วมของชุมชนถือเป็นสิ่งสำคัญดังนั้นคณะกรรมการกองทุนซึ่งเป็นกลุ่มบุคคลที่ได้รับความไว้วางใจในการบริหารกองทุนนั้นจึงจำเป็นต้องดำเนินการบริหารกองทุนให้มีความก้าวหน้าและเป็นที่พึงพอใจของประชาชนทุกคนในตำบลร่มเมือง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อติดตาม กำกับ การดำเนินแผนงาน/โครงการต่างๆในกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลร่มเมือง ที่ได้รับงบประมาณสนับสนุน
  2. ๒. เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ
  3. ๓. เพื่อกระตุ้นการทำงานในการกองทุนให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 16

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. คณะกรรมการกองทุนมีการบริหารงานกองทุนอย่างมีความรู้ ๒. ความเข้าใจและมีศักยภาพในการบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นแนวทางเดียวกัน ๓. คณะกรรมการกองทุนสามารถประสานงานความร่วมมือของเครือข่ายภาคีภาครัฐ ให้การสนับสนุนและผลักดันให้เกิดกระแสดีๆ ริเริ่มสร้างสรรค์ทางด้านการดูแลป้องกันเรื่องสุขภาพ ๔. คณะกรรมการกองทุนสามารถบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลร่มเมืองอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ๕. กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลร่มเมืองเป็นที่พึงพอใจของทุกคนในพื้นที่ตำบลร่มเมือง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ

    วันที่ 27 ตุลาคม 2559 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต output : คณะกรรมกองทุนฯ จำนวน ๑๖ คน ได้รับทราบข้อมูลข่าวสารต่างๆจาก สปสช. และทราบถึงสถานการณ์ทางการเงินของกองทุนฯ ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม – กันยายน ๒๕๕๙ สรุปแบบรายไตรมาส ที่ ๔ ทบทวนหลักเกณฑ์การะเบียบ วัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
    ผลลัพธ์ outcome : คณะกรรมการกองทุนฯ สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเงินกองทุนฯ เพื่อดำเนินการพิจารณาโครงการในการขอรับงบประมาณและสามารถพิจารณาโครงการในการประชุมครั้งนี้พร้อมอนุมัติโครงการไปจำนวน ๕ โครงการ

     

    16 16

    2. ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1/2560 วันศุกร์ที่ 27 มกราคม 2560

    วันที่ 27 มกราคม 2560 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประธานแจ้งที่ประชุมตามหนังสือที่ สปสช.๕.๓๓/ว.๕๐๒ เรื่อง แจ้งบัญชีผู้ใช้งานและรหัสผ่านเข้าใช้งานโปรแกรมการลงข้อมูล  รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๕๙  วันที่  ๒๗  ตุลาคม  พ.ศ. ๒๕๕๙ รายงานทางการเงินสรุปรายงานการเงินประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๕๙  สรุปรายงานการเงินประจำไตรมาส ที่ ๑  ติดตามผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๙ จำนวน ๒ โครงการ คือโครงการสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ และ โครงการร้อง เล่น เต้น รำ ในการส่งรูปเล่มรายงานผลกิจกรรม  อนุมัติแผนงาน/โครงการกองทุนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๐ ครั้งที่ ๒ จำนวน ๓ โครงการ คือ - โครงการห่วงใยสตรี ช่วยชีวียืนยาว เป็นเงิน ๑๔,๑๐๐ บาท - โครงการจัดการกลุ่มเสี่ยงสารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกรตำบลร่มเมือง ปี ๒๕๖๐ เป็นเงิน ๒๗,๗๐๐ บาท  - โครงการผู้สูงวัยอนามัยดี โดยชมรมผู้สูงอายุ ม.๑ บ้านโหล๊ะพันหงส์ เป็นเงิน ๒๐,๒๐๐ บาท

     

    16 16

    3. การประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2/2560

    วันที่ 30 สิงหาคม 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องประธานแจ้งที่ประชุมทราบ ๑.๑ ตามหนังสือที่ สปสช.๒๑๗(อ) ว.๐๐๔๙๖ เรื่อง แจ้งโอนเงินค่าบริการทางการแพทย์กองทุนฯ ๑.๒ ตามหนังสือที่ สปสช.๕.๓๓/ว.๕๐๒ เรื่อง ขอเชิญประชุมชี้แจงเสริมสร้างความเข้าใจกองทุนสุขภาพตำบลและ LTC เขต ๑๒ สงขลา ๑.๓ ตามหนังสือที่ สปสช.๕.๓๓/ว.๓๑๖ เรื่อง ขอให้ดำเนินการเกี่ยวกับข้อมูลและเร่งดำเนินการกองทุนสุขภาพตำบล ปี ๒๕๖๐ ๑.๔ ตามหนังสือที่ สปสช.๕.๓๓/ว.๓๕๔ เรื่อง ขอเชิญสมัครและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กองทุนสุขภาพตำบลเขต ๑๒ สงขลา ปี ๒๕๖๐ ๑.๕ ตามหนังสือที่ สปสช.๕.๓๓/ว.๓๕๑ เรื่อง ขอแจ้งแนวทางการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบล ปี ๒๕๖๑ ๑.๖ ตามหนังสือที่ สปสช.๕.๓๓/ว.๓๖๐ เรื่อง ขอเชิญประชุม
    มติ  คณะกรรมการกองทุนฯรับทราบ

    ระเบียบวาระที่ ๒ รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๖๐  วันที่  ๒๗  มกราคม  พ.ศ. ๒๕๖๐ มติ  คณะกรรมการกองทุนฯรับรองการประชุม

    ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องเสนอเพื่อทราบ ๓.๑  เรื่องสืบเนื่องการประชุมครั้งที่แล้ว ๓.๑.๑  ติดตามรายงานผลโครงการที่รับการสนับสนุนจากกองทุนฯประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๙ จำนวน ๒ โครงการ ในกิจกรรมประเภทที่ ๓ เพื่อสนับสนุน ศพด.และ ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ มติ  มีการจัดส่งรูปเล่มรายงานผลครบทั้ง ๒ โครงการ

    ๓.๒  เรื่องรายงานทางการเงิน ๓.๒.๑  สรุปรายงานการเงินประจำเดือนมกราคม –มิถุนายน ๒๕๖๐ มติ  คณะกรรมการกองทุนฯรับทราบ
    ๓.๒.๒  สรุปรายงานการเงินประจำไตรมาส ที่ ๒ และ ๓ มติ  คณะกรรมการกองทุนฯรับทราบ

    ๓.๓  เรื่องรายงานการติดตามผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๐ มติ  คณะกรรมการกองทุนฯให้ประสานผู้รับผิดชอบโครงการให้จัดส่งรายงานผล
    ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑  แผนงาน/โครงการกองทุนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๐ ครั้งที่ ๓ - โครงการสวนผักหนูน้อย - โครงการธรรม สุขภาพบำบัด มติ  คณะกรรมการกองทุนฯอนุมัติงบประมาณ ๔๑,๒๐๐ บาท ให้โครงการสวนผักหนูน้อย ๑๑,๒๐๐ บาท โดย ศพด.บ้านนาโอ่ และ โครงการธรรม สุขภาพบำบัด ๓๐,๐๐๐ บาท โดยศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ ตำบลร่มเมือง

    ระเบียบวาระที่ ๕ เรื่องอื่นๆ ไม่มี

     

    16 16

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    สรุปผลการดำเนินกิจกรรม ๑. มีการจัดประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลร่มเมือง จำนวน ๓ ครั้ง ๒. คณะกรรมการบริหารกองทุนฯอนุมัติโครงการโดยงบประมาณกองทุนฯ  จำนวน ๑๒ โครงการ ดังนี้ - โครงการในกิจกรรมประเภทที่ ๑  จำนวน ๕ โครงการ - โครงการในกิจกรรมประเภทที่ ๒  จำนวน ๒ โครงการ - โครงการในกิจกรรมประเภทที่ ๓  จำนวน ๒ โครงการ - โครงการในกิจกรรมประเภทที่ ๔  จำนวน ๒ โครงการ - โครงการในกิจกรรมประเภทที่ ๕  จำนวน ๑ โครงการ ๓. มีการดำเนินโครงการที่ได้รับการอนุมัติ จำนวน ๑๑ โครงการในประเภทที่ ๑ – ๔ ส่วนในประเภทที่ ๕ ไม่ได้มีการดำเนินกิจกรรมทั้งนี้เพราะในพื้นที่ไม่มีภาวะฉุกเฉิน ๔. งบประมาณกองทุนฯ ดังนี้ - ยอดเงินคงเหลือยกมา ปี ๒๕๕๙  จำนวน ๓๐๓,๓๖๔.๙๙ บาท - รับจาก สปสช. จำนวน ๒๑๗,๙๓๕.๐๐ บาท - รับจาก ทต.ร่มเมือง จำนวน  ๑๕๐,๐๐๐.๐๐ บาท - รับจากดอกเบี้ยธนาคาร จำนวน      ๑,๗๓๙.๐๔ บาท
    - รับจากเงินบริจาค จำนวน      ๑,๐๐๐.๐๐ บาท รวมรายรับ ๖๗๔,๐๓๙.๐๓  บาท ๕. รายจ่ายรวมทั้งหมดประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๐ เป็นเงิน ๒๓๓,๐๕๐ บาท ๖. เงินคงเหลือกองทุนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๐ เป็นเงิน  ๔๔๐,๙๘๙.๐๓ บาท

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อติดตาม กำกับ การดำเนินแผนงาน/โครงการต่างๆในกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลร่มเมือง ที่ได้รับงบประมาณสนับสนุน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 ๒. เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด :

     

    3 ๓. เพื่อกระตุ้นการทำงานในการกองทุนให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 16
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 16

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อติดตาม กำกับ การดำเนินแผนงาน/โครงการต่างๆในกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลร่มเมือง ที่ได้รับงบประมาณสนับสนุน (2) ๒. เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ (3) ๓. เพื่อกระตุ้นการทำงานในการกองทุนให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    การประชุมคณะกรรมการกองทุน จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 60-L3360-4-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลร่มเมือง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด