โครงการเด็กอุไดสุขภาพดี ชีวีมีสุข
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเด็กอุไดสุขภาพดี ชีวีมีสุข ”
ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางมาริหยาม เหมนะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ
กันยายน 2562
ชื่อโครงการ โครงการเด็กอุไดสุขภาพดี ชีวีมีสุข
ที่อยู่ ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 62-L5282-2-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กอุไดสุขภาพดี ชีวีมีสุข จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กอุไดสุขภาพดี ชีวีมีสุข
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กอุไดสุขภาพดี ชีวีมีสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5282-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,675.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กวัยเรียนและเยาวชนเป็นกลุ่มที่มีความสำคัญต่อการสร้างรากฐานความั่นคงต่อการพัฒนาประเทศ ทั้งในปัจจุบันและอนาคตการที่เด็กจะเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีศักยภาพได้นั่นจะต้องได้รับการเลี้ยงดุและส่งเสริม สุขภาพให้เหมาะสมกับวัย เมื่อสุขภาพดีจะส่งผลต่อการเรียนทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีขึ้น ดังนั่นหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาคุณภาพของเด็กทั้งองค์ความรู้จากการเรียนการสอน รวมถึงการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพที่ดีให้กับเด็ก โรงเรียนเป็นสถานที่หนึ่ง เป็นที่รวมของเด้กนักเรียน ซึ่งมาจากที่ต่างๆกัน มีฐานะทางเศรษฐกิจ สังคม สภาพแวดล้อมและพฤติกรรมอนามัยที่แตกต่างกันไป โรคที่พบในเด็กและอุบัติเหตุต่างๆอาจเกิดขึ้นได้เสมอ หากนักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนทราบแนวทางปฎิบัติต่างๆในการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและการป้องกันอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นแล้ว ก็สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันให้ปลอดภัยได้
โรงเรียนบ้านอุได หมู่ที่5 ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ รับจ้าง กรีดยางพาราหาเช้ากินค่ำ มีรายได้น้อย ครอบครัวแตกแยกนักเรียนอาศัยอยู่กับ ปู่ ย่า ตา ยาย นักเรียนส่วนใหญ่มีปัญหาสุขภาพที่ส่งผลต่อการเรียนของเด็ก ได้แก่ ปัญหาเด็กนักเรียนอยู่ในภาวะทุพโภชนาการ คิดเป็นร้อยละ 30 นักเรียนฟันผุร้อยละ 40 นักเรียนเป็นเหาร้อยละ 60 ปัญหาดังกล่าวสาเหตุมาจากพฤติกรรมต่างๆเช่น ปัญหาฟันผุ สาเหตุส่วนใหญ่มาจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง เนื่องจากเด็กในวัยนี้่ชอบกินขนมขบเคี้ยวและดื่มน้ำอัดลม เป็นสาเหตุของปัญหาฟันผุ เพราะมีส่วนผสมของแป้งและน้ำตาลสูง นักเรียนยังขาดความรู้ มีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องเหมาะสม ในการดูแลสุขภาพของตนเอง ในการเลือกรับประทานอาหารนักเรียนส่วนใหญ่ไม่ชอบทานผัก การแปรงฟัน การักษา ความสะอาดของศีรษะและเส้นผม การกำจัดและป้องกันตัวเองจากยุง
โรงเรียนบ้านอุได เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา เพื่อให้ความรู้แก่นักเรียน ส่งเสริมสุขภาพ เฝ้าระวังติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็ก และเรื่องเกี่ยวกับสุขภาพช่องปาก รวมทั้งป้องกันตนเองจากโรคภัยต่างๆ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการสุขภาพช่องปาก สุขวิทยา และการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัดความสำเร็จ
- เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการเด็กนักเรียน
- เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพฟันและสุขภาพกายที่เหมาะสม
- เพื่อลดอัตราการป่วยของนักเรียนด้วยโรคไข้เลือดออก
- เพื่อให้นักเรียนสามารถดูแลรักาาความสะอาดของร่างกายตนเองได้อย่างถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการ
- กิจกรรมฟันดี มีสุข
- กิจกรรมสลัด สะบัดเหา
- กิจกรรมไข้เลือดออก
- ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
110
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็ก สุขภาพช่องปาก สุขภาพกายและป้องกันโรคไข้เลือดออก
- มีการติดตามและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กทุกราย
- นักเรียนมีสุขภาพช่องปากและฟันที่แข็งแรง
- นักเรียนรู้วิธีการกำจัดเหา และมีสุขภาพกายที่เหมาะสม
- อัตราป่วยของนักเรียนจากโรคไข้เลือดออกลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมฟันดี มีสุข
วันที่ 13 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ
2.1 กิจกรรมหลัก อบรมให้ความรู้แก่เด็กนักเรียน จำนวน 120 คน
งบประมาณ
ค่าวิทยากร (ไม่ขอใช้งบประมาณ)
ค่าอาหารว่างจำนวน 2 มื้อ จำนวน มื้อละ 20 บาท จำนวน 110 คน เป็นเงิน 4400 บาท
ค่าชุดสาธิตการแปรงฟัน ชุดละ 100 บาท จำนวน 110 ชุด เป็นเงิน 11000 บาท
2.2 กิจกรรมย่อย รณรงค์ให้นักเรียนแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน นักเรียน จำนวน 110 คน
งบประมาณ ไม่ขอใช้งบประมาณ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็ก สุขภาพช่องปาก สุขภาพกายและป้องกันโรคไข้เลือดออก
- มีการติดตามและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กทุกราย
- นักเรียนมีสุขภาพช่องปากและฟันที่แข็งแรง
- นักเรียนรู้วิธีการกำจัดเหา และมีสุขภาพกายที่เหมาะสม
- อัตราป่วยของนักเรียนจากโรคไข้เลือดออกลดลง
220
0
2. กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการ
วันที่ 2 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
1.1 กิจกรรมหลัก อบรมให้ความรู้แก่เด็กนักเรียนและผู้ปกครอง เรื่องภาวะโภชนาการ
รายละเอียดกิจกรรม
- อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง เรื่องภาวะทุพโภชนาการเด็ก
งบประมาณ
ค่าอาหารว่างมื้อเที่ยงสำหรับผู้ปกครอง 110 คนๆละ 50 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 5500 บาท
ค่าอาหารว่างจำนวน 1 มื้อ จำนวน มื้อละ 20 บาท จำนวน 220 คน เป็นเงิน 4400 บาท
ค่าป้ายไวนิลโครงการขนาด 1.5 *3 ม. จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 675 บาท
ค่าวัสดุสาธิตการทำเมนูอาหารเพื่อสุขภาพเป็นเงิน 5300 บาท
ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชม.ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3600
1.2 กิจกรรมที่ย่อย ดำเนินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด้กนักเรียนระดับอนุบาล ถึงประถมศึกษาปีที่ 6
งบประมาณ ไม่ขอใช้งบประมาณ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็ก สุขภาพช่องปาก สุขภาพกายและป้องกันโรคไข้เลือดออก
- มีการติดตามและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กทุกราย
- นักเรียนมีสุขภาพช่องปากและฟันที่แข็งแรง
- นักเรียนรู้วิธีการกำจัดเหา และมีสุขภาพกายที่เหมาะสม
- อัตราป่วยของนักเรียนจากโรคไข้เลือดออกลดลง
330
0
3. กิจกรรมสลัด สะบัดเหา
วันที่ 18 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
3.1 กิจกรรมหลัก อบรมให้ความรู้แก่เด็กนักเรียนและผู้ปกครอง จำนวน 220 คน
งบประมาณ
ค่าวิทยากร (ไม่ขอใช้งบประมาณ)
ค่าสมุนไพร วัสดุ/อุปกรณ์ ในการกำจัดเหา เป็นเงิน 3000 บาท
ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วม จำนวน 220 คนๆ1 มื้อ ๆละ 20 บาท เป็นเงิน 4400 บาท
3.2 กิจกรรมย่อย รณรงค์การใช้สมุนไพรในการกำจัดเหา
งบประมาณ (ไม่ขอใช้งบประมาณ)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็ก สุขภาพช่องปาก สุขภาพกายและป้องกันโรคไข้เลือดออก
- มีการติดตามและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กทุกราย
- นักเรียนมีสุขภาพช่องปากและฟันที่แข็งแรง
- นักเรียนรู้วิธีการกำจัดเหา และมีสุขภาพกายที่เหมาะสม
- อัตราป่วยของนักเรียนจากโรคไข้เลือดออกลดลง
440
0
4. กิจกรรมไข้เลือดออก
วันที่ 16 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
4.1 กิจกรรมหลัก อบรมให้ความรู้แก่เด็กนักเรียน จำนวน 110 คน
งบประมาณ
ค่าวิทยากร (ไม่ขอใช้งบประมาณ)
ค่าป้ายไวนิล 1*2 เมตร จำนวน 10 ป้ายๆละ 300 บาทเป็นเงิน 3000 บาท
ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 110 คนๆละ2 มื้อๆละ 20 บาทเป็นเงิน 4400 บาท
4.2 กิจกรรมย่อย รณรงค์โรคไข้เลือดออก จำนวน 220 คน
งบประมาณ ไม่ขอใช้งบประมาณ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.อัตราป่วยของนักเรียนจากโรคไข้เลือดออกลดลง
330
0
5. ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
วันที่ 21 พฤศจิกายน 2562กิจกรรมที่ทำ
ค่าจัดทำรูปเล่มรายงาน เป็นเงิน 1000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการสุขภาพช่องปาก สุขวิทยา และการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัดความสำเร็จ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของ ผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้และความเข้าใจ เกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการสุขภาพช่องปาก สุขวิทยา และการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก
0.00
2
เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการเด็กนักเรียน
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทุพโภชนาการร้อยละ 100
2. นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม
0.00
3
เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพฟันและสุขภาพกายที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีสุขภาพฟันที่แข็งแรง กรณีพบฟันผุได้รับการรักษาต่อทุกราย
2. นักเรียนร้อยละ 70 ที่เป็นเหาสามารถรักาา ลดการแพร่สู่ผู้อื่น และการกลับมาติดเหาซ้ำอีก
0.00
4
เพื่อลดอัตราการป่วยของนักเรียนด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยของนักเรียนด้วยโรคไข้เลือกออกลดลง
0.00
5
เพื่อให้นักเรียนสามารถดูแลรักาาความสะอาดของร่างกายตนเองได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 70 ที่เป็นเหาสามารถ ลดการแพร่สู่ผู้อื่น และการกลับมาติดเหาซ้ำอีก
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
110
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
110
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการสุขภาพช่องปาก สุขวิทยา และการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัดความสำเร็จ (2) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการเด็กนักเรียน (3) เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพฟันและสุขภาพกายที่เหมาะสม (4) เพื่อลดอัตราการป่วยของนักเรียนด้วยโรคไข้เลือดออก (5) เพื่อให้นักเรียนสามารถดูแลรักาาความสะอาดของร่างกายตนเองได้อย่างถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการ (2) กิจกรรมฟันดี มีสุข (3) กิจกรรมสลัด สะบัดเหา (4) กิจกรรมไข้เลือดออก (5) ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเด็กอุไดสุขภาพดี ชีวีมีสุข จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 62-L5282-2-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางมาริหยาม เหมนะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเด็กอุไดสุขภาพดี ชีวีมีสุข ”
ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางมาริหยาม เหมนะ
กันยายน 2562
ที่อยู่ ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 62-L5282-2-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กอุไดสุขภาพดี ชีวีมีสุข จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กอุไดสุขภาพดี ชีวีมีสุข
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กอุไดสุขภาพดี ชีวีมีสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5282-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,675.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กวัยเรียนและเยาวชนเป็นกลุ่มที่มีความสำคัญต่อการสร้างรากฐานความั่นคงต่อการพัฒนาประเทศ ทั้งในปัจจุบันและอนาคตการที่เด็กจะเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีศักยภาพได้นั่นจะต้องได้รับการเลี้ยงดุและส่งเสริม สุขภาพให้เหมาะสมกับวัย เมื่อสุขภาพดีจะส่งผลต่อการเรียนทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีขึ้น ดังนั่นหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาคุณภาพของเด็กทั้งองค์ความรู้จากการเรียนการสอน รวมถึงการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพที่ดีให้กับเด็ก โรงเรียนเป็นสถานที่หนึ่ง เป็นที่รวมของเด้กนักเรียน ซึ่งมาจากที่ต่างๆกัน มีฐานะทางเศรษฐกิจ สังคม สภาพแวดล้อมและพฤติกรรมอนามัยที่แตกต่างกันไป โรคที่พบในเด็กและอุบัติเหตุต่างๆอาจเกิดขึ้นได้เสมอ หากนักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนทราบแนวทางปฎิบัติต่างๆในการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและการป้องกันอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นแล้ว ก็สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันให้ปลอดภัยได้
โรงเรียนบ้านอุได หมู่ที่5 ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ รับจ้าง กรีดยางพาราหาเช้ากินค่ำ มีรายได้น้อย ครอบครัวแตกแยกนักเรียนอาศัยอยู่กับ ปู่ ย่า ตา ยาย นักเรียนส่วนใหญ่มีปัญหาสุขภาพที่ส่งผลต่อการเรียนของเด็ก ได้แก่ ปัญหาเด็กนักเรียนอยู่ในภาวะทุพโภชนาการ คิดเป็นร้อยละ 30 นักเรียนฟันผุร้อยละ 40 นักเรียนเป็นเหาร้อยละ 60 ปัญหาดังกล่าวสาเหตุมาจากพฤติกรรมต่างๆเช่น ปัญหาฟันผุ สาเหตุส่วนใหญ่มาจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง เนื่องจากเด็กในวัยนี้่ชอบกินขนมขบเคี้ยวและดื่มน้ำอัดลม เป็นสาเหตุของปัญหาฟันผุ เพราะมีส่วนผสมของแป้งและน้ำตาลสูง นักเรียนยังขาดความรู้ มีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องเหมาะสม ในการดูแลสุขภาพของตนเอง ในการเลือกรับประทานอาหารนักเรียนส่วนใหญ่ไม่ชอบทานผัก การแปรงฟัน การักษา ความสะอาดของศีรษะและเส้นผม การกำจัดและป้องกันตัวเองจากยุง
โรงเรียนบ้านอุได เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา เพื่อให้ความรู้แก่นักเรียน ส่งเสริมสุขภาพ เฝ้าระวังติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็ก และเรื่องเกี่ยวกับสุขภาพช่องปาก รวมทั้งป้องกันตนเองจากโรคภัยต่างๆ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการสุขภาพช่องปาก สุขวิทยา และการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัดความสำเร็จ
- เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการเด็กนักเรียน
- เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพฟันและสุขภาพกายที่เหมาะสม
- เพื่อลดอัตราการป่วยของนักเรียนด้วยโรคไข้เลือดออก
- เพื่อให้นักเรียนสามารถดูแลรักาาความสะอาดของร่างกายตนเองได้อย่างถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการ
- กิจกรรมฟันดี มีสุข
- กิจกรรมสลัด สะบัดเหา
- กิจกรรมไข้เลือดออก
- ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 110 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็ก สุขภาพช่องปาก สุขภาพกายและป้องกันโรคไข้เลือดออก
- มีการติดตามและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กทุกราย
- นักเรียนมีสุขภาพช่องปากและฟันที่แข็งแรง
- นักเรียนรู้วิธีการกำจัดเหา และมีสุขภาพกายที่เหมาะสม
- อัตราป่วยของนักเรียนจากโรคไข้เลือดออกลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมฟันดี มีสุข |
||
วันที่ 13 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ2.1 กิจกรรมหลัก อบรมให้ความรู้แก่เด็กนักเรียน จำนวน 120 คน งบประมาณ
2.2 กิจกรรมย่อย รณรงค์ให้นักเรียนแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน นักเรียน จำนวน 110 คน งบประมาณ ไม่ขอใช้งบประมาณ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
220 | 0 |
2. กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการ |
||
วันที่ 2 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำ1.1 กิจกรรมหลัก อบรมให้ความรู้แก่เด็กนักเรียนและผู้ปกครอง เรื่องภาวะโภชนาการ รายละเอียดกิจกรรม
งบประมาณ
1.2 กิจกรรมที่ย่อย ดำเนินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด้กนักเรียนระดับอนุบาล ถึงประถมศึกษาปีที่ 6 งบประมาณ ไม่ขอใช้งบประมาณ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
330 | 0 |
3. กิจกรรมสลัด สะบัดเหา |
||
วันที่ 18 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำ3.1 กิจกรรมหลัก อบรมให้ความรู้แก่เด็กนักเรียนและผู้ปกครอง จำนวน 220 คน งบประมาณ ค่าวิทยากร (ไม่ขอใช้งบประมาณ) ค่าสมุนไพร วัสดุ/อุปกรณ์ ในการกำจัดเหา เป็นเงิน 3000 บาท ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วม จำนวน 220 คนๆ1 มื้อ ๆละ 20 บาท เป็นเงิน 4400 บาท 3.2 กิจกรรมย่อย รณรงค์การใช้สมุนไพรในการกำจัดเหา งบประมาณ (ไม่ขอใช้งบประมาณ) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
440 | 0 |
4. กิจกรรมไข้เลือดออก |
||
วันที่ 16 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ4.1 กิจกรรมหลัก อบรมให้ความรู้แก่เด็กนักเรียน จำนวน 110 คน งบประมาณ ค่าวิทยากร (ไม่ขอใช้งบประมาณ) ค่าป้ายไวนิล 1*2 เมตร จำนวน 10 ป้ายๆละ 300 บาทเป็นเงิน 3000 บาท ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 110 คนๆละ2 มื้อๆละ 20 บาทเป็นเงิน 4400 บาท 4.2 กิจกรรมย่อย รณรงค์โรคไข้เลือดออก จำนวน 220 คน งบประมาณ ไม่ขอใช้งบประมาณ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.อัตราป่วยของนักเรียนจากโรคไข้เลือดออกลดลง
|
330 | 0 |
5. ค่าใช้จ่ายอื่นๆ |
||
วันที่ 21 พฤศจิกายน 2562กิจกรรมที่ทำค่าจัดทำรูปเล่มรายงาน เป็นเงิน 1000 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการสุขภาพช่องปาก สุขวิทยา และการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัดความสำเร็จ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของ ผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้และความเข้าใจ เกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการสุขภาพช่องปาก สุขวิทยา และการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการเด็กนักเรียน ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทุพโภชนาการร้อยละ 100 2. นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพฟันและสุขภาพกายที่เหมาะสม ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีสุขภาพฟันที่แข็งแรง กรณีพบฟันผุได้รับการรักษาต่อทุกราย 2. นักเรียนร้อยละ 70 ที่เป็นเหาสามารถรักาา ลดการแพร่สู่ผู้อื่น และการกลับมาติดเหาซ้ำอีก |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อลดอัตราการป่วยของนักเรียนด้วยโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : อัตราป่วยของนักเรียนด้วยโรคไข้เลือกออกลดลง |
0.00 |
|
||
5 | เพื่อให้นักเรียนสามารถดูแลรักาาความสะอาดของร่างกายตนเองได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 70 ที่เป็นเหาสามารถ ลดการแพร่สู่ผู้อื่น และการกลับมาติดเหาซ้ำอีก |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 110 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 110 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการสุขภาพช่องปาก สุขวิทยา และการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัดความสำเร็จ (2) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการเด็กนักเรียน (3) เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพฟันและสุขภาพกายที่เหมาะสม (4) เพื่อลดอัตราการป่วยของนักเรียนด้วยโรคไข้เลือดออก (5) เพื่อให้นักเรียนสามารถดูแลรักาาความสะอาดของร่างกายตนเองได้อย่างถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการ (2) กิจกรรมฟันดี มีสุข (3) กิจกรรมสลัด สะบัดเหา (4) กิจกรรมไข้เลือดออก (5) ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเด็กอุไดสุขภาพดี ชีวีมีสุข จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 62-L5282-2-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางมาริหยาม เหมนะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......