โครงการเฝ้าระวังและป้องกันไข้เลือดออกถวายองค์ราชันย์
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังและป้องกันไข้เลือดออกถวายองค์ราชันย์ ”
อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางนิภาธร พงศาปาน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและป้องกันไข้เลือดออกถวายองค์ราชันย์
ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 010122560 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังและป้องกันไข้เลือดออกถวายองค์ราชันย์ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและป้องกันไข้เลือดออกถวายองค์ราชันย์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและป้องกันไข้เลือดออกถวายองค์ราชันย์ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 010122560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 127,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ไข้เลือดออกเป็นปัญหาที่สำคัญของการสาธารณสุขระดับประเทศ เนื่องจากความรุนแรงของ โรคแปรผันตรงต่ออัตราการตายและการป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกส่งผลต่อสุขภาพของผู้ป่วยเอง ชุมชน /สังคม ตามลำดับ แต่เดิมระบาดวิทยาของโรคไข้เลือดออกจะพบในกลุ่มเด็กอายุระหว่าง5-9 ปีแต่ในปัจจุบันสามารถ พบได้ทุกกลุ่มอายุ ทางกระทรวงสาธารณสุข ได้ดำเนินการรณรงค์เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2530 และดำเนินการอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน อย่างไรก็ตามสถานการณ์การเกิดโรค ไข้เลือดออกยังคงมีการระบาดทุกปี ซึ่งยังพบว่าเป็นสถานการณ์ที่รุนแรง ปัจจัยการระบาดที่สำคัญที่ทำให้มีการระบาดและมีการขยายพื้นที่ออกไปอย่างกว้างขวาง ได้แก่ การเพิ่มจำนวนของประชากรโดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีชุมชนเมืองเพิ่มขึ้นมีการเคลื่อนไหวของประชากรและมียุงลายมากขึ้นตามการเพิ่มของภาชนะขังน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้นการคมนาคมที่สะดวกขึ้นทั้งทางบกและทางอากาศทำให้มีการเดินทางมากขึ้นทั้งภายในและต่างประเทศ ปัจจัยเหล่านี้ทำให้การแพร่กระจายของเชื้อไวรัสเดงกี่เป็นไปอย่างรวดเร็วนอกจากนี้ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกอีกประการหนึ่งได้แก่ การที่พื้นที่มีเชื้อไวรัสเดงกี่ชุกชุมและมีมากกว่าหนึ่งชนิดในเวลาเดียวกัน หรือการติดเชื้อซ้ำซึ่งมีผลต่อการระบาดและแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออกด้วยปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่องทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ
ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองพัทลุงได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและป้องกันไข้เลือดออกถวายองค์ราชันย์ขึ้นเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองพัทลุงให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๒.๑ เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในบ้านตนเองอย่างต่อเนื่อง
2.๒ เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหนะของโรคไม่ให้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก ๒.๓ เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
110
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๙.๑ อัตราการป่วยด้วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลง
๙.๒ มีกิจกรรมการประชาสัมพันธ์ และกิจกรรมการรณรงค์ ควบคุมและป้องกันโรคทุก รูปแบบอย่างต่อเนื่อง
๙.๓ ประชาชนมีความตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันโรคไข้เลือดออกแบบมีส่วนร่วม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดอบรม
วันที่ 7 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
๑. ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและป้องกันไข้เลือดออกถวายองค์ราชันย์ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
๒. วัตถุประสงค์
๑. เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในบ้านตนเองอย่างต่อเนื่อง
๒. เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหนะของโรคไม่ให้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก
๓. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
๓. งบประมาณ
จากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองพัทลุง เป็นเงิน ๑๒๗,๖๐๐ บาท ได้ใช้จ่ายงบประมาณทั้งสิ้น ๕๙,๖๐๐ บาท ซึ่งมีค่าใช้จ่าย ดังนี้
๓.๑ ค่าอาหารกลางวัน สำหรับผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน ๑๑๐ คน จำนวน ๑ มื้อ ๆ ละ
๕๐ บาท เป็นเงิน ๕,๕๐๐ บาท
๓.๒ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน ๑๑๐ คน จำนวน ๒ มื้อ ๆ ละ
๒๕ บาท เป็นเงิน ๕,๕๐๐ บาท
๓.๓ ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการประชุม เช่น แฟ้ม ปากกา กระดาษ จำนวน ๑๑๐ ชุด ๆ ละ
๓๐ บาท เป็นเงิน ๓,๓๐๐ บาท
๓.๔ ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน ๒ คน เป็นเงิน ๕,๗๐๐ บาท
๓.๕ ค่าป้ายไวนิลโครงการ จำนวน ๑ ป้าย เป็นเงิน ๖๐๐ บาท
๓.๖ ค่าใช้จ่ายในการประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกของศูนย์แพทย์ทั้ง ๓ ศูนย์ดังนี้
๓.๖.๑ ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ รวมเป็นเงิน ๑๓,๐๐๐ บาท ประกอบด้วย
- ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการจำนวน ๑ ป้าย เป็นเงิน ๖๐๐ บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน ๓ ชม. ๆ ละ ๖๐๐ บาท เป็นเงิน ๑,๘๐๐ บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม ๑๕๐ คน ๆ ละ ๒๕ บาท
เป็นเงิน ๓,๗๕๐ บาท
- ค่าจ้างทำแผ่นพับความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก จำนวน ๗๐๐ ใบ ๆ ละ
๗ บาท เป็นเงิน ๔,๙๐๐ บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม เป็นเงิน ๑,๙๕๐ บาท
๓.๖.๒ ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ รวมเป็นเงิน ๑๓,๐๐๐ บาท ประกอบด้วย
- ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการจำนวน ๑ ป้าย เป็นเงิน ๖๐๐ บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน ๓ ชม. ๆ ละ ๖๐๐ บาท เป็นเงิน ๑,๘๐๐ บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม ๑๕๐ คน ๆ ละ ๒๕ บาท
เป็นเงิน ๓,๗๕๐ บาท
- ค่าจ้างทำแผ่นพับความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก จำนวน ๗๐๐ ใบ ๆ ละ
๗ บาท เป็นเงิน ๔,๙๐๐ บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม เป็นเงิน ๑,๙๕๐ บาท
๓.๖.๓ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ รวมเป็นเงิน ๑๓,๐๐๐ บาท ประกอบด้วย
- ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการจำนวน ๑ ป้าย เป็นเงิน ๖๐๐ บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน ๓ ชม. ๆ ละ ๖๐๐ บาท เป็นเงิน ๑,๘๐๐ บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม ๑๕๐ คน ๆ ละ ๒๕ บาท
เป็นเงิน ๓,๗๕๐ บาท
- ค่าจ้างทำแผ่นพับความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก จำนวน ๗๐๐ ใบ ๆ ละ
๗ บาท เป็นเงิน ๔,๙๐๐ บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม เป็นเงิน ๑,๙๕๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๕๙,๖๐๐ บาท
คงเหลือเงินเมื่อหักค่าใช้จ่าย ๖๘,๐๐๐ บาท
๔. ระยะเวลาดำเนินการ
เดือนกุมภาพันธ์ - เดือนกันยายน ๒๕๖๐
๕. ผลการดำเนินงาน
๕.๑ ประชุมคณะทำงานประกอบด้วย เจ้าหน้าที่กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองพัทลุง งานป้องกันควบคุมโรคและระบาดวิทยา โรงพยาบาลพัทลุง ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ เพื่อกำหนดกิจกรรมและมอบหมายหน้าที่ในการดำเนินงาน
๕.๒ จัดประชุมให้ความรู้ คำแนะนำและแนวทางการดำเนินงาน แก่กรรมการชุมชน และ อสม. เมื่อวันศุกร์ที่ ๗ เมษายน ๒๕๖๐ ณ ห้องประชุมสำนักงานเทศบาลเมืองพัทลุง ดังนี้
๕.๒.๑ นายสุเมธ บุญยก นายกเทศมนตรีเมืองพัทลุง เป็นประธานในพิธีเปิดการประชุม
๕.๒.๒ ผู้เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย กรรมการชุมชน อสม. และเจ้าหน้าที่จากเทศบาลเมืองพัทลุง โรงพยาบาลพัทลุง ศูนย์แพทย์ชุมชนทั้ง ๓ ศูนย์ จำนวน ๑๑๐ คน
๕.๒.๓ เนื้อหาการประชุมประกอบด้วย
- สถานการณ์โรคไข้เลือดออก โดย วิทยากรจากโรงพยาบาลพัทลุง
- การดำเนินงานโรคไข้เลือดออกในชุมชน โดย ทีมงานวิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำกะ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง
- กิจกรรมกลุ่ม เรื่อง การประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออก โดย ทีมงานวิทยากรจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
๕.๒.๔ แนวทางการดำเนินงานหลังการประชุม เพื่อให้เกิดกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน คือ
๕.๒.๔.๑ ประชุมคณะทำงาน ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองพัทลุง เจ้าหน้าที่งานป้องกันควบคุมโรคและระบาดวิทยาโรงพยาบาลพัทลุง และเจ้าหน้าที่ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงานและหลักเกณฑ์การประกวดชุมชน
๕.๒.๔.๒ ศูนย์แพทย์ชุมชนทั้ง ๓ ศูนย์ จัดประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกเพื่อคัดเลือก เป็นตัวแทนโซน ๆ ละ ๒ ชุมชน จำนวน ๖ ชุมชน เพื่อเข้าร่วมประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออก เขตเทศบาลเมืองพัทลุง
๕.๒.๔.๓ จัดประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกจากตัวแทนโชน ๖ ชุมชน เพื่อคัดเลือกเป็นชุมชนปลอดไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองพัทลุงโดยมีคณะกรรมการลงประเมินตามเกณฑ์การประกวด
๕.๒.๔.๔ ติดตามประเมินผลชุมชนที่ได้รับการคัดเลือกเป็นชุมชนปลอดไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง เดือนละ ๑ ครั้ง เพื่อให้มีกิจกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน เป็นชุมชนต้นแบบในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง
๕.๓ ศูนย์แพทย์ชุมชนทั้ง ๓ ศูนย์ ได้ดำเนินงานต่อดังนี้
๕.๓.๑ ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ จัดอบรมชี้แจงการดำเนินงานโครงการ เรื่องการจัดประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกเพื่อคัดเลือกเป็นตัวแทนโซน ๆ ละ ๒ ชุมชน จำนวน ๖ ชุมชน เพื่อเข้าร่วมประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกเขตเทศบาลเมืองพัทลุง แก่ กรรมการชุมชน อสม. และแกนนำชุมชน ชุมชนละ ๑๐ คน จำนวน ๑๕๐ คน ในวันพุธที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๐ และจัดประกวด ชุมชนปลอดไข้เลือดออกเพื่อเป็นตัวแทนของโซน ในการประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ชุมชนที่ได้รับการคัดเลือกคือ ชุมชน วัดภูผาภิมุข และชุมชนบ้านปากแพรก
๕.๓.๒ ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ จัดอบรมชี้แจงการดำเนินงานโครงการ เรื่องการจัดประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกเพื่อคัดเลือกเป็นตัวแทนโซน ๆ ละ ๒ ชุมชน จำนวน ๖ ชุมชน เพื่อเข้าร่วมประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกเขตเทศบาลเมืองพัทลุง แก่ กรรมการชุมชน อสม. และแกนนำชุมชน ชุมชนละ ๑๐ คน จำนวน ๑๕๐ คน ในวันศุกร์ที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๐ และจัดประกวด ชุมชนปลอดไข้เลือดออกเพื่อเป็นตัวแทนของโซน ในการประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ชุมชนที่ได้รับการคัดเลือกคือ ชุมชนบ้านส้มตรีดออก และชุมชนบ้านนางลาดเหนือ
๕.๓.๓ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ จัดอบรมชี้แจงการดำเนินงานโครงการ เรื่องการจัดประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกเพื่อคัดเลือกเป็นตัวแทนโซน ๆ ละ ๒ ชุมชน จำนวน ๖ ชุมชน เพื่อเข้าร่วมประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกเขตเทศบาลเมืองพัทลุง แก่ กรรมการชุมชน อสม. และแกนนำชุมชน ชุมชนละ ๑๐ คน จำนวน ๑๕๐ คน ในวันพุธที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๐ และจัดประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกเพื่อเป็นตัวแทนของโซน ในการประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ชุมชนที่ได้รับการคัดเลือกคือ ชุมชนบ้านหน้าเขาอกทะลุ และชุมชนบ้านหน้าท่าเรือ
๕.๔ ประชุมคณะทำงานประกอบด้วย เจ้าหน้าที่งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ฝ่ายบริการสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองพัทลุง งานป้องกันควบคุมโรคและระบาดวิทยา โรงพยาบาลพัทลุง ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ เพื่อดำเนินงานจัดประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง จากชุมชนที่ได้รับการคัดเลือกเป็นตัวแทนโซน จำนวน ๖ ชุมชน
๕.๕ ชุมชนทั้ง ๖ ชุมชนยังไม่สามารถเป็นชุมชนปลอดไข้เลือดออกได้ เนื่องจาก ยังมีผู้ป่วยไข้เลือดออกในชุมชน และพบแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน (ค่า HI > ๑๐)
๖. ข้อเสนอแนะการดำเนินงาน
๖.๑ ให้ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก วิธีการป้องกันและควบคุมการเกิดโรค เพื่อให้ประชาชนตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการป้องกันตนเอง ชุมชน ให้ห่างไกลจากการเกิดโรคไข้เลือดออก
๖.๒ เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก เพื่อความต่อเนื่องและยั่งยืนในการควบคุมการระบาดของโรค
๖.๓ กระตุ้นและเน้นย้ำให้ประชาชาสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายภายในบ้านและบริเวณรอบ ๆ บ้านของตนเอง สัปดาห์ละ ๑ ครั้ง
๖.๔ สร้างภาคีเครือข่ายในการทำงาน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และที่สำคัญ คือ ภาคประชาชน เพราะเป็นผู้ที่อยู่ในพื้นที่ ทราบปัญหาและสาเหตุที่ทำให้เกิดโรค โดยร่วมกันคิด วางแผน และแก้ไขปัญหา และจะต้องมีวัตถุประสงค์และแนวทางการดำเนินงานอย่างชัดเจน เพื่อเป็นกลไกในการดำเนินการให้สำเร็จ มีประสิทธิภาพ ต่อเนื่อง และยั่งยืน
110
110
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
๑. ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและป้องกันไข้เลือดออกถวายองค์ราชันย์ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
๒. วัตถุประสงค์
๑. เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในบ้านตนเองอย่างต่อเนื่อง
๒. เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหนะของโรคไม่ให้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก
๓. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
๓. งบประมาณ
จากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองพัทลุง เป็นเงิน ๑๒๗,๖๐๐ บาท ได้ใช้จ่ายงบประมาณทั้งสิ้น ๕๙,๖๐๐ บาท ซึ่งมีค่าใช้จ่าย ดังนี้
๓.๑ ค่าอาหารกลางวัน สำหรับผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน ๑๑๐ คน จำนวน ๑ มื้อ ๆ ละ
๕๐ บาท เป็นเงิน ๕,๕๐๐ บาท
๓.๒ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน ๑๑๐ คน จำนวน ๒ มื้อ ๆ ละ
๒๕ บาท เป็นเงิน ๕,๕๐๐ บาท
๓.๓ ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการประชุม เช่น แฟ้ม ปากกา กระดาษ จำนวน ๑๑๐ ชุด ๆ ละ
๓๐ บาท เป็นเงิน ๓,๓๐๐ บาท
๓.๔ ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน ๒ คน เป็นเงิน ๕,๗๐๐ บาท
๓.๕ ค่าป้ายไวนิลโครงการ จำนวน ๑ ป้าย เป็นเงิน ๖๐๐ บาท
๓.๖ ค่าใช้จ่ายในการประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกของศูนย์แพทย์ทั้ง ๓ ศูนย์ดังนี้
๓.๖.๑ ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ รวมเป็นเงิน ๑๓,๐๐๐ บาท ประกอบด้วย
- ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการจำนวน ๑ ป้าย เป็นเงิน ๖๐๐ บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน ๓ ชม. ๆ ละ ๖๐๐ บาท เป็นเงิน ๑,๘๐๐ บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม ๑๕๐ คน ๆ ละ ๒๕ บาท
เป็นเงิน ๓,๗๕๐ บาท
- ค่าจ้างทำแผ่นพับความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก จำนวน ๗๐๐ ใบ ๆ ละ
๗ บาท เป็นเงิน ๔,๙๐๐ บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม เป็นเงิน ๑,๙๕๐ บาท / ๓.๖.๒ ศูนย์แพทย์ชุมชน...
- ๒ -
๓.๖.๒ ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ รวมเป็นเงิน ๑๓,๐๐๐ บาท ประกอบด้วย
- ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการจำนวน ๑ ป้าย เป็นเงิน ๖๐๐ บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน ๓ ชม. ๆ ละ ๖๐๐ บาท เป็นเงิน ๑,๘๐๐ บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม ๑๕๐ คน ๆ ละ ๒๕ บาท
เป็นเงิน ๓,๗๕๐ บาท
- ค่าจ้างทำแผ่นพับความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก จำนวน ๗๐๐ ใบ ๆ ละ
๗ บาท เป็นเงิน ๔,๙๐๐ บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม เป็นเงิน ๑,๙๕๐ บาท
๓.๖.๓ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ รวมเป็นเงิน ๑๓,๐๐๐ บาท ประกอบด้วย
- ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการจำนวน ๑ ป้าย เป็นเงิน ๖๐๐ บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน ๓ ชม. ๆ ละ ๖๐๐ บาท เป็นเงิน ๑,๘๐๐ บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม ๑๕๐ คน ๆ ละ ๒๕ บาท
เป็นเงิน ๓,๗๕๐ บาท
- ค่าจ้างทำแผ่นพับความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก จำนวน ๗๐๐ ใบ ๆ ละ
๗ บาท เป็นเงิน ๔,๙๐๐ บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม เป็นเงิน ๑,๙๕๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๕๙,๖๐๐ บาท
คงเหลือเงินเมื่อหักค่าใช้จ่าย ๖๘,๐๐๐ บาท
๔. ระยะเวลาดำเนินการ
เดือนกุมภาพันธ์ - เดือนกันยายน ๒๕๖๐
๕. ผลการดำเนินงาน
๕.๑ ประชุมคณะทำงานประกอบด้วย เจ้าหน้าที่กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองพัทลุง งานป้องกันควบคุมโรคและระบาดวิทยา โรงพยาบาลพัทลุง ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ เพื่อกำหนดกิจกรรมและมอบหมายหน้าที่ในการดำเนินงาน
๕.๒ จัดประชุมให้ความรู้ คำแนะนำและแนวทางการดำเนินงาน แก่กรรมการชุมชน และ อสม. เมื่อวันศุกร์ที่ ๗ เมษายน ๒๕๖๐ ณ ห้องประชุมสำนักงานเทศบาลเมืองพัทลุง ดังนี้
/ ๕.๒.๑ นายสุเมธ บุญยก...
- ๓ -<br />
๕.๒.๑ นายสุเมธ บุญยก นายกเทศมนตรีเมืองพัทลุง เป็นประธานในพิธีเปิดการประชุม
๕.๒.๒ ผู้เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย กรรมการชุมชน อสม. และเจ้าหน้าที่จากเทศบาลเมืองพัทลุง โรงพยาบาลพัทลุง ศูนย์แพทย์ชุมชนทั้ง ๓ ศูนย์ จำนวน ๑๑๐ คน
๕.๒.๓ เนื้อหาการประชุมประกอบด้วย
- สถานการณ์โรคไข้เลือดออก โดย วิทยากรจากโรงพยาบาลพัทลุง
- การดำเนินงานโรคไข้เลือดออกในชุมชน โดย ทีมงานวิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำกะ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง
- กิจกรรมกลุ่ม เรื่อง การประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออก โดย ทีมงานวิทยากรจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
๕.๒.๔ แนวทางการดำเนินงานหลังการประชุม เพื่อให้เกิดกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน คือ
๕.๒.๔.๑ ประชุมคณะทำงาน ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองพัทลุง เจ้าหน้าที่งานป้องกันควบคุมโรคและระบาดวิทยาโรงพยาบาลพัทลุง และเจ้าหน้าที่ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงานและหลักเกณฑ์การประกวดชุมชน
๕.๒.๔.๒ ศูนย์แพทย์ชุมชนทั้ง ๓ ศูนย์ จัดประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกเพื่อคัดเลือก เป็นตัวแทนโซน ๆ ละ ๒ ชุมชน จำนวน ๖ ชุมชน เพื่อเข้าร่วมประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออก เขตเทศบาลเมืองพัทลุง
๕.๒.๔.๓ จัดประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกจากตัวแทนโชน ๖ ชุมชน เพื่อคัดเลือกเป็นชุมชนปลอดไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองพัทลุงโดยมีคณะกรรมการลงประเมินตามเกณฑ์การประกวด
๕.๒.๔.๔ ติดตามประเมินผลชุมชนที่ได้รับการคัดเลือกเป็นชุมชนปลอดไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง เดือนละ ๑ ครั้ง เพื่อให้มีกิจกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน เป็นชุมชนต้นแบบในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง
/ ๕.๓ ศูนย์แพทย์ชุมชน...
- ๔ -
๕.๓ ศูนย์แพทย์ชุมชนทั้ง ๓ ศูนย์ ได้ดำเนินงานต่อดังนี้
๕.๓.๑ ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ จัดอบรมชี้แจงการดำเนินงานโครงการ เรื่องการจัดประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกเพื่อคัดเลือกเป็นตัวแทนโซน ๆ ละ ๒ ชุมชน จำนวน ๖ ชุมชน เพื่อเข้าร่วมประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกเขตเทศบาลเมืองพัทลุง แก่ กรรมการชุมชน อสม. และแกนนำชุมชน ชุมชนละ ๑๐ คน จำนวน ๑๕๐ คน ในวันพุธที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๐ และจัดประกวด ชุมชนปลอดไข้เลือดออกเพื่อเป็นตัวแทนของโซน ในการประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ชุมชนที่ได้รับการคัดเลือกคือ ชุมชน วัดภูผาภิมุข และชุมชนบ้านปากแพรก
๕.๓.๒ ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ จัดอบรมชี้แจงการดำเนินงานโครงการ เรื่องการจัดประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกเพื่อคัดเลือกเป็นตัวแทนโซน ๆ ละ ๒ ชุมชน จำนวน ๖ ชุมชน เพื่อเข้าร่วมประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกเขตเทศบาลเมืองพัทลุง แก่ กรรมการชุมชน อสม. และแกนนำชุมชน ชุมชนละ ๑๐ คน จำนวน ๑๕๐ คน ในวันศุกร์ที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๐ และจัดประกวด ชุมชนปลอดไข้เลือดออกเพื่อเป็นตัวแทนของโซน ในการประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ชุมชนที่ได้รับการคัดเลือกคือ ชุมชนบ้านส้มตรีดออก และชุมชนบ้านนางลาดเหนือ
๕.๓.๓ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ จัดอบรมชี้แจงการดำเนินงานโครงการ เรื่องการจัดประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกเพื่อคัดเลือกเป็นตัวแทนโซน ๆ ละ ๒ ชุมชน จำนวน ๖ ชุมชน เพื่อเข้าร่วมประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกเขตเทศบาลเมืองพัทลุง แก่ กรรมการชุมชน อสม. และแกนนำชุมชน ชุมชนละ ๑๐ คน จำนวน ๑๕๐ คน ในวันพุธที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๐ และจัดประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกเพื่อเป็นตัวแทนของโซน ในการประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ชุมชนที่ได้รับการคัดเลือกคือ ชุมชนบ้านหน้าเขาอกทะลุ และชุมชนบ้านหน้าท่าเรือ
๕.๔ ประชุมคณะทำงานประกอบด้วย เจ้าหน้าที่งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ฝ่ายบริการสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองพัทลุง งานป้องกันควบคุมโรคและระบาดวิทยา โรงพยาบาลพัทลุง ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ เพื่อดำเนินงานจัดประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง จากชุมชนที่ได้รับการคัดเลือกเป็นตัวแทนโซน จำนวน ๖ ชุมชน
/ ๕.๕ ชุมชน...
- ๕ -
๕.๕ ชุมชนทั้ง ๖ ชุมชนยังไม่สามารถเป็นชุมชนปลอดไข้เลือดออกได้ เนื่องจาก ยังมีผู้ป่วยไข้เลือดออกในชุมชน และพบแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน (ค่า HI > ๑๐)
๖. ข้อเสนอแนะการดำเนินงาน
๖.๑ ให้ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก วิธีการป้องกันและควบคุมการเกิดโรค เพื่อให้ประชาชนตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการป้องกันตนเอง ชุมชน ให้ห่างไกลจากการเกิดโรคไข้เลือดออก
๖.๒ เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก เพื่อความต่อเนื่องและยั่งยืนในการควบคุมการระบาดของโรค
๖.๓ กระตุ้นและเน้นย้ำให้ประชาชาสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายภายในบ้านและบริเวณรอบ ๆ บ้านของตนเอง สัปดาห์ละ ๑ ครั้ง
๖.๔ สร้างภาคีเครือข่ายในการทำงาน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และที่สำคัญ คือ ภาคประชาชน เพราะเป็นผู้ที่อยู่ในพื้นที่ ทราบปัญหาและสาเหตุที่ทำให้เกิดโรค โดยร่วมกันคิด วางแผน และแก้ไขปัญหา และจะต้องมีวัตถุประสงค์และแนวทางการดำเนินงานอย่างชัดเจน เพื่อเป็นกลไกในการดำเนินการให้สำเร็จ มีประสิทธิภาพ ต่อเนื่อง และยั่งยืน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๒.๑ เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในบ้านตนเองอย่างต่อเนื่อง
2.๒ เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหนะของโรคไม่ให้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก ๒.๓ เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองพัทลุงต่ำกว่าค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
110
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
110
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๒.๑ เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในบ้านตนเองอย่างต่อเนื่อง
2.๒ เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหนะของโรคไม่ให้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก ๒.๓ เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวังและป้องกันไข้เลือดออกถวายองค์ราชันย์ จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 010122560
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางนิภาธร พงศาปาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังและป้องกันไข้เลือดออกถวายองค์ราชันย์ ”
อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางนิภาธร พงศาปาน
กันยายน 2560
ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 010122560 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังและป้องกันไข้เลือดออกถวายองค์ราชันย์ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและป้องกันไข้เลือดออกถวายองค์ราชันย์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและป้องกันไข้เลือดออกถวายองค์ราชันย์ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 010122560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 127,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ไข้เลือดออกเป็นปัญหาที่สำคัญของการสาธารณสุขระดับประเทศ เนื่องจากความรุนแรงของ โรคแปรผันตรงต่ออัตราการตายและการป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกส่งผลต่อสุขภาพของผู้ป่วยเอง ชุมชน /สังคม ตามลำดับ แต่เดิมระบาดวิทยาของโรคไข้เลือดออกจะพบในกลุ่มเด็กอายุระหว่าง5-9 ปีแต่ในปัจจุบันสามารถ พบได้ทุกกลุ่มอายุ ทางกระทรวงสาธารณสุข ได้ดำเนินการรณรงค์เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2530 และดำเนินการอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน อย่างไรก็ตามสถานการณ์การเกิดโรค ไข้เลือดออกยังคงมีการระบาดทุกปี ซึ่งยังพบว่าเป็นสถานการณ์ที่รุนแรง ปัจจัยการระบาดที่สำคัญที่ทำให้มีการระบาดและมีการขยายพื้นที่ออกไปอย่างกว้างขวาง ได้แก่ การเพิ่มจำนวนของประชากรโดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีชุมชนเมืองเพิ่มขึ้นมีการเคลื่อนไหวของประชากรและมียุงลายมากขึ้นตามการเพิ่มของภาชนะขังน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้นการคมนาคมที่สะดวกขึ้นทั้งทางบกและทางอากาศทำให้มีการเดินทางมากขึ้นทั้งภายในและต่างประเทศ ปัจจัยเหล่านี้ทำให้การแพร่กระจายของเชื้อไวรัสเดงกี่เป็นไปอย่างรวดเร็วนอกจากนี้ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกอีกประการหนึ่งได้แก่ การที่พื้นที่มีเชื้อไวรัสเดงกี่ชุกชุมและมีมากกว่าหนึ่งชนิดในเวลาเดียวกัน หรือการติดเชื้อซ้ำซึ่งมีผลต่อการระบาดและแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออกด้วยปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่องทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองพัทลุงได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและป้องกันไข้เลือดออกถวายองค์ราชันย์ขึ้นเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองพัทลุงให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๒.๑ เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในบ้านตนเองอย่างต่อเนื่อง 2.๒ เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหนะของโรคไม่ให้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก ๒.๓ เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 110 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๙.๑ อัตราการป่วยด้วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลง
๙.๒ มีกิจกรรมการประชาสัมพันธ์ และกิจกรรมการรณรงค์ ควบคุมและป้องกันโรคทุก รูปแบบอย่างต่อเนื่อง
๙.๓ ประชาชนมีความตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันโรคไข้เลือดออกแบบมีส่วนร่วม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดอบรม |
||
วันที่ 7 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น๑. ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและป้องกันไข้เลือดออกถวายองค์ราชันย์ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ๒. วัตถุประสงค์
๑. เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในบ้านตนเองอย่างต่อเนื่อง
๒. เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหนะของโรคไม่ให้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก
๓. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
๓. งบประมาณ
จากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองพัทลุง เป็นเงิน ๑๒๗,๖๐๐ บาท ได้ใช้จ่ายงบประมาณทั้งสิ้น ๕๙,๖๐๐ บาท ซึ่งมีค่าใช้จ่าย ดังนี้
๓.๑ ค่าอาหารกลางวัน สำหรับผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน ๑๑๐ คน จำนวน ๑ มื้อ ๆ ละ ๔. ระยะเวลาดำเนินการ เดือนกุมภาพันธ์ - เดือนกันยายน ๒๕๖๐ ๕. ผลการดำเนินงาน ๕.๑ ประชุมคณะทำงานประกอบด้วย เจ้าหน้าที่กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองพัทลุง งานป้องกันควบคุมโรคและระบาดวิทยา โรงพยาบาลพัทลุง ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ เพื่อกำหนดกิจกรรมและมอบหมายหน้าที่ในการดำเนินงาน ๕.๒ จัดประชุมให้ความรู้ คำแนะนำและแนวทางการดำเนินงาน แก่กรรมการชุมชน และ อสม. เมื่อวันศุกร์ที่ ๗ เมษายน ๒๕๖๐ ณ ห้องประชุมสำนักงานเทศบาลเมืองพัทลุง ดังนี้
๕.๓ ศูนย์แพทย์ชุมชนทั้ง ๓ ศูนย์ ได้ดำเนินงานต่อดังนี้ ๕.๕ ชุมชนทั้ง ๖ ชุมชนยังไม่สามารถเป็นชุมชนปลอดไข้เลือดออกได้ เนื่องจาก ยังมีผู้ป่วยไข้เลือดออกในชุมชน และพบแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน (ค่า HI > ๑๐) ๖. ข้อเสนอแนะการดำเนินงาน ๖.๑ ให้ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก วิธีการป้องกันและควบคุมการเกิดโรค เพื่อให้ประชาชนตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการป้องกันตนเอง ชุมชน ให้ห่างไกลจากการเกิดโรคไข้เลือดออก ๖.๒ เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก เพื่อความต่อเนื่องและยั่งยืนในการควบคุมการระบาดของโรค ๖.๓ กระตุ้นและเน้นย้ำให้ประชาชาสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายภายในบ้านและบริเวณรอบ ๆ บ้านของตนเอง สัปดาห์ละ ๑ ครั้ง ๖.๔ สร้างภาคีเครือข่ายในการทำงาน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และที่สำคัญ คือ ภาคประชาชน เพราะเป็นผู้ที่อยู่ในพื้นที่ ทราบปัญหาและสาเหตุที่ทำให้เกิดโรค โดยร่วมกันคิด วางแผน และแก้ไขปัญหา และจะต้องมีวัตถุประสงค์และแนวทางการดำเนินงานอย่างชัดเจน เพื่อเป็นกลไกในการดำเนินการให้สำเร็จ มีประสิทธิภาพ ต่อเนื่อง และยั่งยืน
|
110 | 110 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
๑. ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและป้องกันไข้เลือดออกถวายองค์ราชันย์ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
๒. วัตถุประสงค์
๑. เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในบ้านตนเองอย่างต่อเนื่อง
๒. เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหนะของโรคไม่ให้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก
๓. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
๓. งบประมาณ
จากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองพัทลุง เป็นเงิน ๑๒๗,๖๐๐ บาท ได้ใช้จ่ายงบประมาณทั้งสิ้น ๕๙,๖๐๐ บาท ซึ่งมีค่าใช้จ่าย ดังนี้
๓.๑ ค่าอาหารกลางวัน สำหรับผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน ๑๑๐ คน จำนวน ๑ มื้อ ๆ ละ
๕๐ บาท เป็นเงิน ๕,๕๐๐ บาท
๓.๒ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน ๑๑๐ คน จำนวน ๒ มื้อ ๆ ละ
๒๕ บาท เป็นเงิน ๕,๕๐๐ บาท
๓.๓ ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการประชุม เช่น แฟ้ม ปากกา กระดาษ จำนวน ๑๑๐ ชุด ๆ ละ
๓๐ บาท เป็นเงิน ๓,๓๐๐ บาท
๓.๔ ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน ๒ คน เป็นเงิน ๕,๗๐๐ บาท
๓.๕ ค่าป้ายไวนิลโครงการ จำนวน ๑ ป้าย เป็นเงิน ๖๐๐ บาท
๓.๖ ค่าใช้จ่ายในการประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกของศูนย์แพทย์ทั้ง ๓ ศูนย์ดังนี้
๓.๖.๑ ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ รวมเป็นเงิน ๑๓,๐๐๐ บาท ประกอบด้วย
- ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการจำนวน ๑ ป้าย เป็นเงิน ๖๐๐ บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน ๓ ชม. ๆ ละ ๖๐๐ บาท เป็นเงิน ๑,๘๐๐ บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม ๑๕๐ คน ๆ ละ ๒๕ บาท
เป็นเงิน ๓,๗๕๐ บาท
- ค่าจ้างทำแผ่นพับความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก จำนวน ๗๐๐ ใบ ๆ ละ
๗ บาท เป็นเงิน ๔,๙๐๐ บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม เป็นเงิน ๑,๙๕๐ บาท / ๓.๖.๒ ศูนย์แพทย์ชุมชน...
- ๒ -
๓.๖.๒ ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ รวมเป็นเงิน ๑๓,๐๐๐ บาท ประกอบด้วย
- ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการจำนวน ๑ ป้าย เป็นเงิน ๖๐๐ บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน ๓ ชม. ๆ ละ ๖๐๐ บาท เป็นเงิน ๑,๘๐๐ บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม ๑๕๐ คน ๆ ละ ๒๕ บาท
เป็นเงิน ๓,๗๕๐ บาท
- ค่าจ้างทำแผ่นพับความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก จำนวน ๗๐๐ ใบ ๆ ละ
๗ บาท เป็นเงิน ๔,๙๐๐ บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม เป็นเงิน ๑,๙๕๐ บาท
๓.๖.๓ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ รวมเป็นเงิน ๑๓,๐๐๐ บาท ประกอบด้วย
- ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการจำนวน ๑ ป้าย เป็นเงิน ๖๐๐ บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน ๓ ชม. ๆ ละ ๖๐๐ บาท เป็นเงิน ๑,๘๐๐ บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม ๑๕๐ คน ๆ ละ ๒๕ บาท
เป็นเงิน ๓,๗๕๐ บาท
- ค่าจ้างทำแผ่นพับความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก จำนวน ๗๐๐ ใบ ๆ ละ
๗ บาท เป็นเงิน ๔,๙๐๐ บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม เป็นเงิน ๑,๙๕๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๕๙,๖๐๐ บาท
คงเหลือเงินเมื่อหักค่าใช้จ่าย ๖๘,๐๐๐ บาท
๔. ระยะเวลาดำเนินการ เดือนกุมภาพันธ์ - เดือนกันยายน ๒๕๖๐ ๕. ผลการดำเนินงาน ๕.๑ ประชุมคณะทำงานประกอบด้วย เจ้าหน้าที่กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองพัทลุง งานป้องกันควบคุมโรคและระบาดวิทยา โรงพยาบาลพัทลุง ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ เพื่อกำหนดกิจกรรมและมอบหมายหน้าที่ในการดำเนินงาน ๕.๒ จัดประชุมให้ความรู้ คำแนะนำและแนวทางการดำเนินงาน แก่กรรมการชุมชน และ อสม. เมื่อวันศุกร์ที่ ๗ เมษายน ๒๕๖๐ ณ ห้องประชุมสำนักงานเทศบาลเมืองพัทลุง ดังนี้
/ ๕.๒.๑ นายสุเมธ บุญยก...
- ๓ -<br />
๕.๒.๑ นายสุเมธ บุญยก นายกเทศมนตรีเมืองพัทลุง เป็นประธานในพิธีเปิดการประชุม
๕.๒.๒ ผู้เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย กรรมการชุมชน อสม. และเจ้าหน้าที่จากเทศบาลเมืองพัทลุง โรงพยาบาลพัทลุง ศูนย์แพทย์ชุมชนทั้ง ๓ ศูนย์ จำนวน ๑๑๐ คน
๕.๒.๓ เนื้อหาการประชุมประกอบด้วย
- สถานการณ์โรคไข้เลือดออก โดย วิทยากรจากโรงพยาบาลพัทลุง
- การดำเนินงานโรคไข้เลือดออกในชุมชน โดย ทีมงานวิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำกะ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง
- กิจกรรมกลุ่ม เรื่อง การประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออก โดย ทีมงานวิทยากรจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
๕.๒.๔ แนวทางการดำเนินงานหลังการประชุม เพื่อให้เกิดกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน คือ
๕.๒.๔.๑ ประชุมคณะทำงาน ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองพัทลุง เจ้าหน้าที่งานป้องกันควบคุมโรคและระบาดวิทยาโรงพยาบาลพัทลุง และเจ้าหน้าที่ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงานและหลักเกณฑ์การประกวดชุมชน
๕.๒.๔.๒ ศูนย์แพทย์ชุมชนทั้ง ๓ ศูนย์ จัดประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกเพื่อคัดเลือก เป็นตัวแทนโซน ๆ ละ ๒ ชุมชน จำนวน ๖ ชุมชน เพื่อเข้าร่วมประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออก เขตเทศบาลเมืองพัทลุง
๕.๒.๔.๓ จัดประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกจากตัวแทนโชน ๖ ชุมชน เพื่อคัดเลือกเป็นชุมชนปลอดไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองพัทลุงโดยมีคณะกรรมการลงประเมินตามเกณฑ์การประกวด
๕.๒.๔.๔ ติดตามประเมินผลชุมชนที่ได้รับการคัดเลือกเป็นชุมชนปลอดไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง เดือนละ ๑ ครั้ง เพื่อให้มีกิจกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน เป็นชุมชนต้นแบบในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง
/ ๕.๓ ศูนย์แพทย์ชุมชน...
- ๔ -
๕.๓ ศูนย์แพทย์ชุมชนทั้ง ๓ ศูนย์ ได้ดำเนินงานต่อดังนี้
๕.๓.๑ ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ จัดอบรมชี้แจงการดำเนินงานโครงการ เรื่องการจัดประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกเพื่อคัดเลือกเป็นตัวแทนโซน ๆ ละ ๒ ชุมชน จำนวน ๖ ชุมชน เพื่อเข้าร่วมประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกเขตเทศบาลเมืองพัทลุง แก่ กรรมการชุมชน อสม. และแกนนำชุมชน ชุมชนละ ๑๐ คน จำนวน ๑๕๐ คน ในวันพุธที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๐ และจัดประกวด ชุมชนปลอดไข้เลือดออกเพื่อเป็นตัวแทนของโซน ในการประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ชุมชนที่ได้รับการคัดเลือกคือ ชุมชน วัดภูผาภิมุข และชุมชนบ้านปากแพรก
๕.๓.๒ ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ จัดอบรมชี้แจงการดำเนินงานโครงการ เรื่องการจัดประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกเพื่อคัดเลือกเป็นตัวแทนโซน ๆ ละ ๒ ชุมชน จำนวน ๖ ชุมชน เพื่อเข้าร่วมประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกเขตเทศบาลเมืองพัทลุง แก่ กรรมการชุมชน อสม. และแกนนำชุมชน ชุมชนละ ๑๐ คน จำนวน ๑๕๐ คน ในวันศุกร์ที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๐ และจัดประกวด ชุมชนปลอดไข้เลือดออกเพื่อเป็นตัวแทนของโซน ในการประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ชุมชนที่ได้รับการคัดเลือกคือ ชุมชนบ้านส้มตรีดออก และชุมชนบ้านนางลาดเหนือ
๕.๓.๓ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ จัดอบรมชี้แจงการดำเนินงานโครงการ เรื่องการจัดประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกเพื่อคัดเลือกเป็นตัวแทนโซน ๆ ละ ๒ ชุมชน จำนวน ๖ ชุมชน เพื่อเข้าร่วมประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกเขตเทศบาลเมืองพัทลุง แก่ กรรมการชุมชน อสม. และแกนนำชุมชน ชุมชนละ ๑๐ คน จำนวน ๑๕๐ คน ในวันพุธที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๐ และจัดประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกเพื่อเป็นตัวแทนของโซน ในการประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ชุมชนที่ได้รับการคัดเลือกคือ ชุมชนบ้านหน้าเขาอกทะลุ และชุมชนบ้านหน้าท่าเรือ
๕.๔ ประชุมคณะทำงานประกอบด้วย เจ้าหน้าที่งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ฝ่ายบริการสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองพัทลุง งานป้องกันควบคุมโรคและระบาดวิทยา โรงพยาบาลพัทลุง ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ เพื่อดำเนินงานจัดประกวดชุมชนปลอดไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง จากชุมชนที่ได้รับการคัดเลือกเป็นตัวแทนโซน จำนวน ๖ ชุมชน
/ ๕.๕ ชุมชน...
- ๕ -
๕.๕ ชุมชนทั้ง ๖ ชุมชนยังไม่สามารถเป็นชุมชนปลอดไข้เลือดออกได้ เนื่องจาก ยังมีผู้ป่วยไข้เลือดออกในชุมชน และพบแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน (ค่า HI > ๑๐)
๖. ข้อเสนอแนะการดำเนินงาน
๖.๑ ให้ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก วิธีการป้องกันและควบคุมการเกิดโรค เพื่อให้ประชาชนตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการป้องกันตนเอง ชุมชน ให้ห่างไกลจากการเกิดโรคไข้เลือดออก
๖.๒ เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก เพื่อความต่อเนื่องและยั่งยืนในการควบคุมการระบาดของโรค
๖.๓ กระตุ้นและเน้นย้ำให้ประชาชาสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายภายในบ้านและบริเวณรอบ ๆ บ้านของตนเอง สัปดาห์ละ ๑ ครั้ง
๖.๔ สร้างภาคีเครือข่ายในการทำงาน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และที่สำคัญ คือ ภาคประชาชน เพราะเป็นผู้ที่อยู่ในพื้นที่ ทราบปัญหาและสาเหตุที่ทำให้เกิดโรค โดยร่วมกันคิด วางแผน และแก้ไขปัญหา และจะต้องมีวัตถุประสงค์และแนวทางการดำเนินงานอย่างชัดเจน เพื่อเป็นกลไกในการดำเนินการให้สำเร็จ มีประสิทธิภาพ ต่อเนื่อง และยั่งยืน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๒.๑ เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในบ้านตนเองอย่างต่อเนื่อง
2.๒ เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหนะของโรคไม่ให้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก ๒.๓ เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองพัทลุงต่ำกว่าค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 110 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 110 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๒.๑ เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในบ้านตนเองอย่างต่อเนื่อง 2.๒ เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหนะของโรคไม่ให้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก ๒.๓ เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวังและป้องกันไข้เลือดออกถวายองค์ราชันย์ จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 010122560
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางนิภาธร พงศาปาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......