โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านรำแดง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านรำแดง ”
ตำบลรำแดง อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นักศึกษาพยาบาลศาสตร์บัณฑิตชั้นปีที่ 4
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รำแดง
ธันวาคม 2559
ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านรำแดง
ที่อยู่ ตำบลรำแดง อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60 - L5269 05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 ธันวาคม 2559 ถึง 30 ธันวาคม 2559
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านรำแดง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรำแดง อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รำแดง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านรำแดง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านรำแดง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรำแดง อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60 - L5269 05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 ธันวาคม 2559 - 30 ธันวาคม 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รำแดง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศไทย ทำให้ประชากรในวัยผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น เนื่องมาจากการพัฒนาด้านสาธารณสุขและทางการแพทย์ ทำให้อัตราการตายลดลงผู้สูงอายุจึงมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น แต่ในทางตรงกันข้ามผู้สูงอายุกลับเป็นวัยที่มีสภาพร่างกายที่เสื่อมและถดถอยลงตามกาลเวลา เป็นผลที่ทำให้โรคภัยไข้เจ็บต่างๆสามารถเข้ามาเบียดเบียนได้ง่าย สอดคล้องกับข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุขในปี พ.ศ.2558 พบว่า ปัจจุบันประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุมีสัดส่วนผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปสูงถึง 9.4 ล้านคนคิดเป็นร้อยละ 14.5 ของประชากรทั้งประเทศโดยเพิ่มขึ้นปีละประมาณ 5 แสนคน คาดว่าภายในปี พ.ศ.2568ประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society)ซึ่งมีแนวโน้มจำนวนผู้สูงอายุประมาณ 14.4 ล้านคนหรือเพิ่มขึ้นเกินร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมด กล่าวคือจะมีผู้สูงอายุ 1 คน ในประชากรทุกๆ 5 คนผลของการเพิ่มจำนวนของผู้สูงอายุนั้นนอกจากส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและ ยังมีผลกระทบและเป็นปัญหาทางชุมชนและสังคมเนื่องจากผู้สูงอายุนั้นมักมีข้อจำกัดในการดูแลสุขภาพของตนเอง จำเป็นต้องได้รับการดูแลและช่วยเหลืออย่างใกล้ชิด
จากการฝึกปฏิบัติงานรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลครอบครัวและชุมชน 2 ของนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สงขลา ได้ศึกษาภาวะสุขภาพชุมชน หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 6 พบว่า โครงสร้างประชากรของชุมชนเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยมีสัดส่วนประชากรสูงอายุคิดเป็นร้อยละ 20.46 ประชากรทั้งหมด จากสภาพปัญหาดังกล่าวจึงได้นำประเด็นปัญหาดังกล่าวไปจัดเวทีประชาคมหมู่บ้านเพื่อให้ชุมชนได้รับทราบปัญหาและร่วมกันในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาและวางแผนในการร่วมแก้ปัญหาสุขภาวะชุมชน พบว่า ชุมชนมีความตระหนักและเห็นความสำคัญกับการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ โดยเฉพาะด้านการออกกำลังกาย โดยพบว่าผู้สูงอายุในชุมชนไม่ได้ออกกำลังกาย สูงถึงร้อยละ 52.12 เมื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาร่วมกับชุมชน พบว่าสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการขาดความรู้ ความตระหนักและไม่เห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย
จากสภาพปัญหาและสาเหตุดังกล่าวชุมชนบ้านรำแดงร่วมกับ องค์การบริหารส่วนตำบลรำแดง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลรำแดงและนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 4 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สงขลา จึงร่วมกันจัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านรำแดง ภายใต้กิจกรรมย่อย “มโนราห์โบราณ วิถีอาหาร สืบสานวัฒนธรรม สร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ” ขึ้นเพื่อส่งเสริมความรู้ ความตระหนักในการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโดยมีกิจกรรมหลักประกอบด้วยการคัดกรองโรคเบื้องต้น รวมทั้งประเมินสมรรถภาพร่างกายสำหรับผู้สูงอายุ ร่วมกับการให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคเรื้อรัง การออกกำลังกายแบบผสมผสานต้านโรคที่เหมาะสมกับผู้สูงวัย รวมทั้งการเสริมสร้างสุขภาวะทางจิตวิญญาณ และการค้นหาบุคคลต้นแบบทางสุขภาพเพื่อมุ่งหวังให้กลุ่มเป้าหมายดังกล่าวได้มีความรู้ ความเข้าใจและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเองได้เหมาะสมสามารถที่จะดำรงชีวิตได้อย่างมีคุณค่าและมีความสุขต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประชากรผู้สูงอายุชุมชนบ้านรำแดงมีมีการแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อการมีภาวะสุขภาพที่ดีและเป็นชุมชนต้นแบบในการเสริมสร้างสุขภาวะผู้สูงอายุ ในทุกมิติทางสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
มีการทำประชาคมในเรื่องสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชนบ้านรำแดง ซึ่งเรื่องที่ผู้สูงอายุต้องการ คือ การออกกำลังกาย ในวันจันทร์ พุธ ศุกร์ ระหว่างเวลา 17.30- 18.00 น. ซึ่งทางคณะนักศึกษาได้เริ่มกระบวนการเชิญผู้สูงอายุออกกำลังกาย ครั้งแรกในวันที่ 19 ธันวาคม 2559 ซึ่งผลตอบรับจากผู้สูงอายุดีมาก และหลังจากนั้นผู้สูงอายุก็มีการร่วมกลุ่มออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละสถานที่หรือพื้นที่สาธารณะที่มีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านรำแดง จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60 - L5269 05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นักศึกษาพยาบาลศาสตร์บัณฑิตชั้นปีที่ 4 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านรำแดง ”
ตำบลรำแดง อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นักศึกษาพยาบาลศาสตร์บัณฑิตชั้นปีที่ 4
ธันวาคม 2559
ที่อยู่ ตำบลรำแดง อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60 - L5269 05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 ธันวาคม 2559 ถึง 30 ธันวาคม 2559
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านรำแดง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรำแดง อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รำแดง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านรำแดง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านรำแดง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรำแดง อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60 - L5269 05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 ธันวาคม 2559 - 30 ธันวาคม 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รำแดง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศไทย ทำให้ประชากรในวัยผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น เนื่องมาจากการพัฒนาด้านสาธารณสุขและทางการแพทย์ ทำให้อัตราการตายลดลงผู้สูงอายุจึงมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น แต่ในทางตรงกันข้ามผู้สูงอายุกลับเป็นวัยที่มีสภาพร่างกายที่เสื่อมและถดถอยลงตามกาลเวลา เป็นผลที่ทำให้โรคภัยไข้เจ็บต่างๆสามารถเข้ามาเบียดเบียนได้ง่าย สอดคล้องกับข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุขในปี พ.ศ.2558 พบว่า ปัจจุบันประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุมีสัดส่วนผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปสูงถึง 9.4 ล้านคนคิดเป็นร้อยละ 14.5 ของประชากรทั้งประเทศโดยเพิ่มขึ้นปีละประมาณ 5 แสนคน คาดว่าภายในปี พ.ศ.2568ประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society)ซึ่งมีแนวโน้มจำนวนผู้สูงอายุประมาณ 14.4 ล้านคนหรือเพิ่มขึ้นเกินร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมด กล่าวคือจะมีผู้สูงอายุ 1 คน ในประชากรทุกๆ 5 คนผลของการเพิ่มจำนวนของผู้สูงอายุนั้นนอกจากส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและ ยังมีผลกระทบและเป็นปัญหาทางชุมชนและสังคมเนื่องจากผู้สูงอายุนั้นมักมีข้อจำกัดในการดูแลสุขภาพของตนเอง จำเป็นต้องได้รับการดูแลและช่วยเหลืออย่างใกล้ชิด จากการฝึกปฏิบัติงานรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลครอบครัวและชุมชน 2 ของนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สงขลา ได้ศึกษาภาวะสุขภาพชุมชน หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 6 พบว่า โครงสร้างประชากรของชุมชนเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยมีสัดส่วนประชากรสูงอายุคิดเป็นร้อยละ 20.46 ประชากรทั้งหมด จากสภาพปัญหาดังกล่าวจึงได้นำประเด็นปัญหาดังกล่าวไปจัดเวทีประชาคมหมู่บ้านเพื่อให้ชุมชนได้รับทราบปัญหาและร่วมกันในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาและวางแผนในการร่วมแก้ปัญหาสุขภาวะชุมชน พบว่า ชุมชนมีความตระหนักและเห็นความสำคัญกับการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ โดยเฉพาะด้านการออกกำลังกาย โดยพบว่าผู้สูงอายุในชุมชนไม่ได้ออกกำลังกาย สูงถึงร้อยละ 52.12 เมื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาร่วมกับชุมชน พบว่าสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการขาดความรู้ ความตระหนักและไม่เห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย จากสภาพปัญหาและสาเหตุดังกล่าวชุมชนบ้านรำแดงร่วมกับ องค์การบริหารส่วนตำบลรำแดง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลรำแดงและนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 4 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สงขลา จึงร่วมกันจัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านรำแดง ภายใต้กิจกรรมย่อย “มโนราห์โบราณ วิถีอาหาร สืบสานวัฒนธรรม สร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ” ขึ้นเพื่อส่งเสริมความรู้ ความตระหนักในการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโดยมีกิจกรรมหลักประกอบด้วยการคัดกรองโรคเบื้องต้น รวมทั้งประเมินสมรรถภาพร่างกายสำหรับผู้สูงอายุ ร่วมกับการให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคเรื้อรัง การออกกำลังกายแบบผสมผสานต้านโรคที่เหมาะสมกับผู้สูงวัย รวมทั้งการเสริมสร้างสุขภาวะทางจิตวิญญาณ และการค้นหาบุคคลต้นแบบทางสุขภาพเพื่อมุ่งหวังให้กลุ่มเป้าหมายดังกล่าวได้มีความรู้ ความเข้าใจและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเองได้เหมาะสมสามารถที่จะดำรงชีวิตได้อย่างมีคุณค่าและมีความสุขต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประชากรผู้สูงอายุชุมชนบ้านรำแดงมีมีการแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อการมีภาวะสุขภาพที่ดีและเป็นชุมชนต้นแบบในการเสริมสร้างสุขภาวะผู้สูงอายุ ในทุกมิติทางสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
มีการทำประชาคมในเรื่องสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชนบ้านรำแดง ซึ่งเรื่องที่ผู้สูงอายุต้องการ คือ การออกกำลังกาย ในวันจันทร์ พุธ ศุกร์ ระหว่างเวลา 17.30- 18.00 น. ซึ่งทางคณะนักศึกษาได้เริ่มกระบวนการเชิญผู้สูงอายุออกกำลังกาย ครั้งแรกในวันที่ 19 ธันวาคม 2559 ซึ่งผลตอบรับจากผู้สูงอายุดีมาก และหลังจากนั้นผู้สูงอายุก็มีการร่วมกลุ่มออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตัวชี้วัด : ร้อยละสถานที่หรือพื้นที่สาธารณะที่มีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านรำแดง จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60 - L5269 05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นักศึกษาพยาบาลศาสตร์บัณฑิตชั้นปีที่ 4 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......