กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้และกระจายพันธุ์พืชสมุนไพรชุมชน
รหัสโครงการ 60-L2492-2-12
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 3 บ้านบือราเป๊ะ
วันที่อนุมัติ 5 มกราคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางฟายียะห์ ลำมะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ 3 บ้านบือราเป๊ะ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.482,101.763place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

พืชสมุนไพรเป็นสิ่งที่อยู่คู่คนไทยมาพันปี ซึ่งมีความหลากหลายและเป็นเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันไปของแต่ละพื้นที่และรูปแบบการรักษา ซึ่งสามารถตอบสนองความต้องการทางด้านการรักษาสุขภาพและความเจ็บป่วยของประชาชนได้เป็นอย่างดี แต่เมื่อการแพทย์แผนปัจจุบันเริ่มเข้ามามีบทบาทในบ้านเรา สรรพคุณและคุณค่าของสมุนไพรไทยอันเป็นสิ่งที่เรียกได้ว่าภูมิปัญญาโบราณก็เริ่มถูกบดบังไปเรื่อยๆ และถูกทอดทิ้งไปในที่สุด ซึ่งความเป็นจริงคนส่วนใหญ่ก็พอรู้กันว่าสมุนไพรไทยเป็นสิ่งที่มีคุณค่าใช้ประโยน์ได้จริง สามารถช่วยดูแลรักษาความเจ็บป่วยให้กับชาวบ้านได้และใช้ได้อย่างกว้างขวาง แต่เป็นเพราะเราใช้วิธีรักษาโรคแผนใหม่มานานมากจนวิชาการแพทย์แผนโบราณที่มีสมุนไพรเป็นยาหลักถูกลืมจนต่อไม่ติด ทำให้เยาวชนรุ่นหลังๆ รู้จักสมุนไพรไทยได้น้อยมากและแทบจะไม่รู้จักเลย ทั้งๆที่สมุนไพรเหล่านั้นอยู่ใกล้ๆตัวเรานี้เอง การจัดทำสวนสมุนไพรในชุมชนขึ้น เพื่อเก็บรวบรวมสมุนไพรไทยไว้ให้เยาวชนรุ่นหลังได้ทำการศึกษา วิธีการรักษาโรค ตลอดจนวิถีชีวิตฯลฯ มีความสำคัญและเป็นสิ่งล้ำค่าที่ควรจะเก็บรวบรวม อนุรักษ์ฟื้นฟูภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านไทยให้อยู่คู่กับคนไทยเพื่อเป็นมรดกต่อลูกหลานในการสืบทอดตลอดไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อศึกษาลักษณะพันธุกรรมของสมุนไพรไทยแต่ละชนิด

 

2 2. นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้เพื่อศึกษาประโยชน์ที่ได้จากสมุนไพรไทย

 

3 3. เพื่อสร้างความตระหนักในการรักษ์และหวงแหนมรดกทางภูมิปัญญาโบราณในด้านการอนุรักษ์สมุนไพรไทยให้เกิดกับประชาชนในชุมชน

 

4 4. เป็นแหล่งเรียนรู้ในด้านพืชสมุนไพรให้กับชุมชน

 

5 5. มีการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานด้านสาธารณสุขในชุมชนเข้าร่วมดำเนินการ โดยเฉพาะการให้ความรู้ในเรื่องวิธีการใช้เพื่อการดูแลสุขภาพ

 

6 6. ควรจัดหางบประมาณในปีต่อไป เพื่อต่อยอดไปเชิงการค้าที่สร้างรายได้ให้เป็นแหล่งผลิตและจำหน่ายต้นพันธุ์และเมล็ดพันธุ์พืชสมุนไพรของชุมชน

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1. เพื่อศึกษาลักษณะพันธุกรรมของสมุนไพรไทยแต่ละชนิด

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : 2. นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้เพื่อศึกษาประโยชน์ที่ได้จากสมุนไพรไทย

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : 3. เพื่อสร้างความตระหนักในการรักษ์และหวงแหนมรดกทางภูมิปัญญาโบราณในด้านการอนุรักษ์สมุนไพรไทยให้เกิดกับประชาชนในชุมชน

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 : 4. เป็นแหล่งเรียนรู้ในด้านพืชสมุนไพรให้กับชุมชน

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 5 : 5. มีการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานด้านสาธารณสุขในชุมชนเข้าร่วมดำเนินการ โดยเฉพาะการให้ความรู้ในเรื่องวิธีการใช้เพื่อการดูแลสุขภาพ

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 6 : 6. ควรจัดหางบประมาณในปีต่อไป เพื่อต่อยอดไปเชิงการค้าที่สร้างรายได้ให้เป็นแหล่งผลิตและจำหน่ายต้นพันธุ์และเมล็ดพันธุ์พืชสมุนไพรของชุมชน

รวม 0 0.00 0 0.00

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

  1. ประชาสัมพันธ์คัดเลือกประชาชน ที่มีความสนใจมีการรวมตัวเป็นกลุ่มเข้าร่วมกันปลูกและดูแลรักษา
  2. สมุนไพรที่ใช้ดูแลสุขภาพในงานสาธารณสุขมูลฐาน ซึ่งสามารถนำมาใช้ง่ายในครัวเรือนทดแทนยาสามัญประจำบ้านทั้งยาภายนอก/ภายใน ใช้รักษาเบื้องต้นดูแลสุขภาพทั่วไป
  3. สนับสนุนให้ชุมชนนำสมุนไพรพื้นบ้านไปใช้ในชีวิตจริง และสมุนไพรที่ใช้เป็นอาหาร
  4. สมุนไพรในท้องถิ่นที่ได้จากการสำรวจพืชในชุมชนและมีองค์ความรู้ในการใช้ประโยชน์
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. สามารถนำภูมิปัญญาไทยมาศึกษาประโยชน์ที่ได้จากสมุนไพรไทย
  2. ลดรายจ่ายในครัวเรือนทั้งในด้านอาหาร สุขภาพและต้นทุนในการผลิตพืช
  3. ถ่ายทอดความรู้ในการปลูก ดูแลรักษา เก็บเกี่ยวและขยายพันธ์ุสมุนไพร
  4. มีความเข้าใจในการปฏิบัติตนเพื่อลดภาวการณ์เกิดโรค
  5. ได้อนุรักษ์สมุนไพรพื้นบ้านเพื่อดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า และมีสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 มี.ค. 2560 14:30 น.