กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง


“ โครงการจัดหาวัสดุการแพทย์ เคมีภัณฑ์ และสื่อประชาสัมพันธ์ในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ ”

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางนิภาธร พงศาปาน

ชื่อโครงการ โครงการจัดหาวัสดุการแพทย์ เคมีภัณฑ์ และสื่อประชาสัมพันธ์ในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ

ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 010122560 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดหาวัสดุการแพทย์ เคมีภัณฑ์ และสื่อประชาสัมพันธ์ในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดหาวัสดุการแพทย์ เคมีภัณฑ์ และสื่อประชาสัมพันธ์ในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดหาวัสดุการแพทย์ เคมีภัณฑ์ และสื่อประชาสัมพันธ์ในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 010122560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 299,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากในปัจจุบันปัญหาสาธารณสุขเป็นปัญหาที่ทั่วโลกให้ความสนใจ โดยเฉพาะโรคติดต่อไม่ว่าจะเป็นการติดต่อระหว่างคนสู่คน สัตว์สู่คนหรือจากสาเหตุอื่นๆ ทำให้มีโรคติดต่ออุบัติใหม่เกิดขึ้นทุกปี รวมถึงโรคประจำถิ่นในแต่ละฤดูกาล เมื่อเกิดขึ้นนอกจากสร้างความเสียหายให้กับผู้ที่เป็นโรคและครอบครัวแล้ว ยังสร้างความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจ สังคม ในแต่ละปีรัฐบาลต้องเสียค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาเกี่ยวกับโรคต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นโรคไข้เลือดออก โรคมือ เท้า ปาสก โรควัณโรค โรคฉี่หนู่ หรือโรคติดต่ออื่นๆ ทำให้เกิดการสูญเสียชีวิต และทรัพย์สินเป็นจำนวนมากตำเป็นต้องเตรียมความพร้อมป้องกันในพื้นที่และประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แกประชาชน การควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่อให้ได้ผลอย่างรวดเร็วนั้น ต้องตัดวงจรการติดต่อของโรคอย่างทันท่วงที จึงจะต้องมีมาตรการควบคุมที่เคร่งครัด ชัดเจน และมีมาตรฐาน การเตรียมพร้อมสำหรับวัสดุทางการแพทย์ เคมีภัณฑ์ต่างๆ ให้ทันท่วงทีและเพียงพอกับการใช้งานจึงเป็นเรื่องที่สำคัญ ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองพัทลุง ได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการจัดหาวัสดุการแพทย์ เคมีภัณฑ์ และสื่อประชาสัมพันธ์ ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อขึ้น เพื่อให้มีไข้อย่างเพียงพออันจะเป็นประโยชน์ต่อการป้องกันและควบคุมโรตติดในเขตเทศบาลเมืองพัทลุงให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อต่างๆ 2.เพื่อสามารถป้องกันและควบคุมการเกิดโรคติดต่อให้มีประสิทธิภาพ 3.เพื่อให้มีวัสดุการแพทย์ และเคมีภัณฑ์ เพียงพอในการป้องกันและควบคุมโรค 4.เพื่อให้มีสือประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคติดต่อเพียงพอทั้งในโรงเรียนและชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.มีวัสดุการแพทย์ เคมีภัณฑ์ เพื่อใช้ในการป้องกันและควบคุมโรคภายในชุมชนและเขตโรงเรียนอย่างเพียงพอ 2.มีสื่อประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคติดต่อเพียงพอและครอบคลุมทั้งในชุมชนและโรงเรียนในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. จัดซื้อวัสดุ

    วันที่ 1 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ๑.  ชื่อโครงการ  โครงการจัดหาวัสดุการแพทย์  เคมีภัณฑ์ และสื่อประชาสัมพันธ์  ในการป้องกันและ                     ควบคุมโรคติดต่อ  ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
    ๒.  วัตถุประสงค์ ๑.  เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อต่าง ๆ                   ๒.  เพื่อสามารถป้องกันและควบคุมการเกิดโรคติดต่อให้มีประสิทธิภาพ ๓.  เพื่อให้มีวัสดุการแพทย์  และเคมีภัณฑ์  เพียงพอในการป้องกันและควบคุมโรค
    ๔.  เพื่อให้มีสื่อประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคติดต่อเพียงพอทั้งในโรงเรียนและชุมชน ๓.  งบประมาณ จากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองพัทลุง  เป็นเงิน  ๒๙๙,๗๐๐  บาท ได้ใช้จ่ายงบประมาณทั้งสิ้น  ๒๕๑,๔๖๔  บาท  ซึ่งมีค่าใช้จ่าย  ดังนี้ ๓.๑ น้ำยาเคมีกำจัดยุง  จำนวน ๓๐ ลิตร ๆ ละ ๑,๖๕๐ บาท  เป็นเงิน  ๔๙,๕๐๐ บาท ๓.๒ ทรายกำจัดลูกน้ำชนิดซอง ๕๐ กรัม ๕๐๐ ซอง/ถัง จำนวน ๒๐ ถัง ๆ ละ
        ๔,๙๐๐ บาท  เป็นเงิน  ๙๘,๐๐๐ บาท ๓.๓ โลชั่นทากันยุงชนิดซอง ขนาด ๘ กรัม จำนวน ๑๒,๐๐๐ ซอง ๆ ละ ๕ บาท  เป็นเงิน     ๖๐,๐๐๐ บาท ๓.๔ สเปรย์ฉีดกำจัดยุงชนิดกระป๋องขนาด ๖๐๐ มล. จำนวน ๒๐๐ กระป๋อง ๆ ละ
        ๙๐ บาท เป็นเงิน  ๑๘,๐๐๐ บาท ๓.๕ น้ำยาฆ่าเชื้อโรคมือ เท้า ปาก จำนวน ๑๐ ลิตร ๆ ละ ๑,๙๐๐ บาท  เป็นเงิน     ๑๙,๐๐๐ บาท ๓.๖ หน้ากากป้องกันอนุภาคฝุ่นละออง (N ๙๕) ๒๐ ชิ้น/แพ็ค ๆ ละ ๕๘๐ บาท จำนวน     ๕ แพ็ค  เป็นเงิน  ๒,๙๐๐ บาท
    ๓.๗ หน้ากากอนามัย ๕๐ ชิ้น/กล่อง ๆ ละ ๑๕๐ บาท จำนวน ๑๐ กล่อง  เป็นเงิน     ๑,๕๐๐ บาท ๓.๘ ไฟฉายขนาดเล็ก จำนวน ๑๐ กระบอก ๆ ละ ๘๐ บาท  เป็นเงิน  ๘๐๐ บาท
    ๓.๙ สื่อประชาสัมพันธ์โรคติดต่อ เช่น แผ่นพับ ป้ายไวนิล  ป้ายรณรงค์  เป็นเงิน     ๑,๗๖๔ บาท
    รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  ๒๙๙,๗๐๐ บาท               คงเหลือเงินเมื่อหักค่าใช้จ่าย  ๔๘,๒๓๖  บาท

    ๔.  ระยะเวลาดำเนินการ เดือนมกราคม – เดือนกันยายน  ๒๕๖๐ ๕.  ผลการดำเนินงาน จัดซื้อวัสดุการแพทย์  เคมีภัณฑ์ และจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์  ในการป้องกันและ                    ควบคุมโรคติดต่อ  ดังนี้ ๕.๑ น้ำยาเคมีกำจัดยุง  จำนวน ๓๐ ลิตร ๆ ละ ๑,๖๕๐ บาท  เป็นเงิน  ๔๙,๕๐๐ บาท ๕.๒ ทรายกำจัดลูกน้ำชนิดซอง ๕๐ กรัม ๕๐๐ ซอง/ถัง จำนวน ๒๐ ถัง ๆ ละ
        ๔,๙๐๐ บาท  เป็นเงิน  ๙๘,๐๐๐ บาท ๕.๓ โลชั่นทากันยุงชนิดซอง ขนาด ๘ กรัม จำนวน ๑๒,๐๐๐ ซอง ๆ ละ ๕ บาท  เป็นเงิน     ๖๐,๐๐๐ บาท ๕.๔ สเปรย์ฉีดกำจัดยุงชนิดกระป๋องขนาด ๖๐๐ มล. จำนวน ๒๐๐ กระป๋อง ๆ ละ
        ๙๐ บาท เป็นเงิน  ๑๘,๐๐๐ บาท ๕.๕ น้ำยาฆ่าเชื้อโรคมือ เท้า ปาก จำนวน ๑๐ ลิตร ๆ ละ ๑,๙๐๐ บาท  เป็นเงิน     ๑๙,๐๐๐ บาท ๕.๖ หน้ากากป้องกันอนุภาคฝุ่นละออง (N ๙๕) ๒๐ ชิ้น/แพ็ค ๆ ละ ๕๘๐ บาท จำนวน     ๕ แพ็ค  เป็นเงิน  ๒,๙๐๐ บาท
    ๕.๗ หน้ากากอนามัย ๕๐ ชิ้น/กล่อง ๆ ละ ๑๕๐ บาท จำนวน ๑๐ กล่อง  เป็นเงิน     ๑,๕๐๐ บาท ๕.๘ ไฟฉายขนาดเล็ก จำนวน ๑๐ กระบอก ๆ ละ ๘๐ บาท  เป็นเงิน  ๘๐๐ บาท ๕.๙ สื่อประชาสัมพันธ์โรคติดต่อ แผ่นพับ ป้ายไวนิล  ป้ายรณรงค์  เป็นเงิน     ๑,๗๖๔ บาท
    รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  ๒๙๙,๗๐๐ บาท               คงเหลือเงินเมื่อหักค่าใช้จ่าย  ๔๘,๒๓๖  บาท   

    เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมดังนี้ ๑.  กิจกรรมการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก     ๑.๑ การพ่นสารเคมีกำจัดยุงในชุมชน จำนวน ๔๕ ชุมชน ปีละ ๒ ครั้ง     ๑.๒ การพ่นสารเคมีกำจัดยุงในโรงเรียนก่อนเปิดภายเรียน เทอมละ ๒ ครั้ง ห่างกัน ๗ วัน จำนวน ๒ เทอม  รวมเป็น ๔ ครั้ง ในโรงเรียนเขตเทศบาล เมืองพัทลุง  จำนวน ๒๘ โรง  เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดโรคไข้เลือดออกในโรงเรียน     ๑.๓ การพ่นสารเคมีกำจัดยุงบ้านผู้ป่วยและบริเวณบ้านในรัศมี ๑๐๐ เมตร โดยผู้ป่วยแต่ละรายจะดำเนินการ ๓ ครั้ง ในวันที่ ๐,๓,๗ - ในชุมชน ๑๒๐ รายๆ ละ ๓ ครั้ง  รวม ๓๖๐ ครั้ง - ในโรงเรียน ๖๕ รายๆ ละ ๓ ครั้ง รวม ๑๙๕ ครั้ง     ๑.๔ การพ่นสารเคมีกำจัดยุงตามคำร้องทั่งไปในชุมชนและสถานที่ราชการต่าง ๆ จำนวน  ๔๕ ครั้ง ๒.  การควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในโรงเรียน ทำความสะอาดพื้น  ของใช้ของเล่นจำนวน  ๕๐ ราย  จำนวน ๙  โรงเรียน  และในชุมชน จำนวน  ๑๐  ชุมชน ๓.  การทำแผ่นพับ  ป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์  เรื่องโรคติดต่อต่าง ๆ
    ๖.  ข้อเสนอแนะการดำเนินงาน ๖.๑  สร้างความตระหนักให้ประชาชนเล็งเห็นถึงความสำคัญในการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายภายในบ้านและบริเวณรอบ ๆ บ้านของตนเอง  เพื่อป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก  เพื่อลดปริมาณการใช้สารเคมีในการควบคุมโรค ๖.๒  แนะนำให้ใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านในการกำจัดลูกน้ำยุงลายและยุงลายตัวเต็มวัยแทน การใช้สารเคมี ๖.๓  พ่อแม่  ผู้ปกครอง  และครูผู้ดูแลเด็ก  ควรเน้นเรื่องสุขอนามัยของเด็ก  เพื่อควบคุมโรคมือ เท้า ปาก  โรคอีสุกอีใส  และโรคติดต่อที่เกิดบ่อยในโรงเรียน  เพื่อควบคุมการระบาดของโรค

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ๑.  ชื่อโครงการ  โครงการจัดหาวัสดุการแพทย์  เคมีภัณฑ์ และสื่อประชาสัมพันธ์  ในการป้องกันและ                     ควบคุมโรคติดต่อ  ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
    ๒.  วัตถุประสงค์ ๑.  เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อต่าง ๆ                   ๒.  เพื่อสามารถป้องกันและควบคุมการเกิดโรคติดต่อให้มีประสิทธิภาพ ๓.  เพื่อให้มีวัสดุการแพทย์  และเคมีภัณฑ์  เพียงพอในการป้องกันและควบคุมโรค
    ๔.  เพื่อให้มีสื่อประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคติดต่อเพียงพอทั้งในโรงเรียนและชุมชน ๓.  งบประมาณ จากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองพัทลุง  เป็นเงิน  ๒๙๙,๗๐๐  บาท ได้ใช้จ่ายงบประมาณทั้งสิ้น  ๒๕๑,๔๖๔  บาท  ซึ่งมีค่าใช้จ่าย  ดังนี้ ๓.๑ น้ำยาเคมีกำจัดยุง  จำนวน ๓๐ ลิตร ๆ ละ ๑,๖๕๐ บาท  เป็นเงิน  ๔๙,๕๐๐ บาท ๓.๒ ทรายกำจัดลูกน้ำชนิดซอง ๕๐ กรัม ๕๐๐ ซอง/ถัง จำนวน ๒๐ ถัง ๆ ละ
        ๔,๙๐๐ บาท  เป็นเงิน  ๙๘,๐๐๐ บาท ๓.๓ โลชั่นทากันยุงชนิดซอง ขนาด ๘ กรัม จำนวน ๑๒,๐๐๐ ซอง ๆ ละ ๕ บาท  เป็นเงิน     ๖๐,๐๐๐ บาท ๓.๔ สเปรย์ฉีดกำจัดยุงชนิดกระป๋องขนาด ๖๐๐ มล. จำนวน ๒๐๐ กระป๋อง ๆ ละ
        ๙๐ บาท เป็นเงิน  ๑๘,๐๐๐ บาท ๓.๕ น้ำยาฆ่าเชื้อโรคมือ เท้า ปาก จำนวน ๑๐ ลิตร ๆ ละ ๑,๙๐๐ บาท  เป็นเงิน     ๑๙,๐๐๐ บาท ๓.๖ หน้ากากป้องกันอนุภาคฝุ่นละออง (N ๙๕) ๒๐ ชิ้น/แพ็ค ๆ ละ ๕๘๐ บาท จำนวน     ๕ แพ็ค  เป็นเงิน  ๒,๙๐๐ บาท
    ๓.๗ หน้ากากอนามัย ๕๐ ชิ้น/กล่อง ๆ ละ ๑๕๐ บาท จำนวน ๑๐ กล่อง  เป็นเงิน     ๑,๕๐๐ บาท ๓.๘ ไฟฉายขนาดเล็ก จำนวน ๑๐ กระบอก ๆ ละ ๘๐ บาท  เป็นเงิน  ๘๐๐ บาท


                                                                                    / ๓.๙ สื่อประชาสัมพันธ์...


                                                  - ๒ -


    ๓.๙ สื่อประชาสัมพันธ์โรคติดต่อ เช่น แผ่นพับ ป้ายไวนิล  ป้ายรณรงค์  เป็นเงิน     ๑,๗๖๔ บาท
    รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  ๒๙๙,๗๐๐ บาท               คงเหลือเงินเมื่อหักค่าใช้จ่าย  ๔๘,๒๓๖  บาท

    ๔.  ระยะเวลาดำเนินการ เดือนมกราคม – เดือนกันยายน  ๒๕๖๐ ๕.  ผลการดำเนินงาน จัดซื้อวัสดุการแพทย์  เคมีภัณฑ์ และจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์  ในการป้องกันและ                    ควบคุมโรคติดต่อ  ดังนี้ ๕.๑ น้ำยาเคมีกำจัดยุง  จำนวน ๓๐ ลิตร ๆ ละ ๑,๖๕๐ บาท  เป็นเงิน  ๔๙,๕๐๐ บาท ๕.๒ ทรายกำจัดลูกน้ำชนิดซอง ๕๐ กรัม ๕๐๐ ซอง/ถัง จำนวน ๒๐ ถัง ๆ ละ
        ๔,๙๐๐ บาท  เป็นเงิน  ๙๘,๐๐๐ บาท ๕.๓ โลชั่นทากันยุงชนิดซอง ขนาด ๘ กรัม จำนวน ๑๒,๐๐๐ ซอง ๆ ละ ๕ บาท  เป็นเงิน     ๖๐,๐๐๐ บาท ๕.๔ สเปรย์ฉีดกำจัดยุงชนิดกระป๋องขนาด ๖๐๐ มล. จำนวน ๒๐๐ กระป๋อง ๆ ละ
        ๙๐ บาท เป็นเงิน  ๑๘,๐๐๐ บาท ๕.๕ น้ำยาฆ่าเชื้อโรคมือ เท้า ปาก จำนวน ๑๐ ลิตร ๆ ละ ๑,๙๐๐ บาท  เป็นเงิน     ๑๙,๐๐๐ บาท ๕.๖ หน้ากากป้องกันอนุภาคฝุ่นละออง (N ๙๕) ๒๐ ชิ้น/แพ็ค ๆ ละ ๕๘๐ บาท จำนวน     ๕ แพ็ค  เป็นเงิน  ๒,๙๐๐ บาท
    ๕.๗ หน้ากากอนามัย ๕๐ ชิ้น/กล่อง ๆ ละ ๑๕๐ บาท จำนวน ๑๐ กล่อง  เป็นเงิน     ๑,๕๐๐ บาท ๕.๘ ไฟฉายขนาดเล็ก จำนวน ๑๐ กระบอก ๆ ละ ๘๐ บาท  เป็นเงิน  ๘๐๐ บาท ๕.๙ สื่อประชาสัมพันธ์โรคติดต่อ แผ่นพับ ป้ายไวนิล  ป้ายรณรงค์  เป็นเงิน     ๑,๗๖๔ บาท
    รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  ๒๙๙,๗๐๐ บาท               คงเหลือเงินเมื่อหักค่าใช้จ่าย  ๔๘,๒๓๖  บาท


    / เพื่อใช้ในการ...


                          - ๓ -


    เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมดังนี้ ๑.  กิจกรรมการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก     ๑.๑ การพ่นสารเคมีกำจัดยุงในชุมชน จำนวน ๔๕ ชุมชน ปีละ ๒ ครั้ง     ๑.๒ การพ่นสารเคมีกำจัดยุงในโรงเรียนก่อนเปิดภายเรียน เทอมละ ๒ ครั้ง ห่างกัน ๗ วัน จำนวน ๒ เทอม  รวมเป็น ๔ ครั้ง ในโรงเรียนเขตเทศบาล เมืองพัทลุง  จำนวน ๒๘ โรง  เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดโรคไข้เลือดออกในโรงเรียน     ๑.๓ การพ่นสารเคมีกำจัดยุงบ้านผู้ป่วยและบริเวณบ้านในรัศมี ๑๐๐ เมตร โดยผู้ป่วยแต่ละรายจะดำเนินการ ๓ ครั้ง ในวันที่ ๐,๓,๗ - ในชุมชน ๑๒๐ รายๆ ละ ๓ ครั้ง  รวม ๓๖๐ ครั้ง - ในโรงเรียน ๖๕ รายๆ ละ ๓ ครั้ง รวม ๑๙๕ ครั้ง     ๑.๔ การพ่นสารเคมีกำจัดยุงตามคำร้องทั่งไปในชุมชนและสถานที่ราชการต่าง ๆ จำนวน  ๔๕ ครั้ง ๒.  การควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในโรงเรียน ทำความสะอาดพื้น  ของใช้ของเล่นจำนวน  ๕๐ ราย  จำนวน ๙  โรงเรียน  และในชุมชน จำนวน  ๑๐  ชุมชน ๓.  การทำแผ่นพับ  ป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์  เรื่องโรคติดต่อต่าง ๆ
    ๖.  ข้อเสนอแนะการดำเนินงาน ๖.๑  สร้างความตระหนักให้ประชาชนเล็งเห็นถึงความสำคัญในการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายภายในบ้านและบริเวณรอบ ๆ บ้านของตนเอง  เพื่อป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก  เพื่อลดปริมาณการใช้สารเคมีในการควบคุมโรค ๖.๒  แนะนำให้ใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านในการกำจัดลูกน้ำยุงลายและยุงลายตัวเต็มวัยแทน การใช้สารเคมี ๖.๓  พ่อแม่  ผู้ปกครอง  และครูผู้ดูแลเด็ก  ควรเน้นเรื่องสุขอนามัยของเด็ก  เพื่อควบคุมโรคมือ เท้า ปาก  โรคอีสุกอีใส  และโรคติดต่อที่เกิดบ่อยในโรงเรียน  เพื่อควบคุมการระบาดของโรค

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อต่างๆ 2.เพื่อสามารถป้องกันและควบคุมการเกิดโรคติดต่อให้มีประสิทธิภาพ 3.เพื่อให้มีวัสดุการแพทย์ และเคมีภัณฑ์ เพียงพอในการป้องกันและควบคุมโรค 4.เพื่อให้มีสือประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคติดต่อเพียงพอทั้งในโรงเรียนและชุมชน
    ตัวชี้วัด : การจัดซื้อจัดจ้างตามแผนร้อยละ 90

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อต่างๆ 2.เพื่อสามารถป้องกันและควบคุมการเกิดโรคติดต่อให้มีประสิทธิภาพ 3.เพื่อให้มีวัสดุการแพทย์ และเคมีภัณฑ์ เพียงพอในการป้องกันและควบคุมโรค 4.เพื่อให้มีสือประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคติดต่อเพียงพอทั้งในโรงเรียนและชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการจัดหาวัสดุการแพทย์ เคมีภัณฑ์ และสื่อประชาสัมพันธ์ในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 010122560

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนิภาธร พงศาปาน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด