โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า ”
ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสุไหงโกลก
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L6961-01-11 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 ธันวาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L6961-01-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 ธันวาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 73,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้ซิกา เกิดขึ้นโดยมียุงลายเป็นพาหะนำโรคระยะฟักตัวของโรคไข้ซิกา ใช้เวลาประมาณ 3 - 12 วัน อาการของโรคไข้ซิกา คล้ายกับ โรคที่เกิดจาก อาร์โบไวรัส (Arbovirus) ซึ่งเป็นเชื้อไวรัสที่มีแมลงเป็นพาหะนำโรค เช่น โรคไข้สมองอักเสบ โรคไข้เหลือง และโรค ไข้เลือดออก เป็นต้น โดยมีอาการไข้ มี ผื่นแดง เยื่อบุตาอักเสบ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ อาการเหล่านี้ปกติแล้วจะเป็นเพียงเล็กน้อย และอาการจะเป็นอยู่ประมาณ 2 - 7 วันส่วนใหญ่จะไม่มีอาการ ในผู้ป่วยบางราย ไวรัสซิกาอาจก่อให้เกิดโรคอัมพาต (Guillain-Barre Syndrome หรือกลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เร) และในสตรีตั้งครรภ์ อาจทำให้เกิดความพิการแต่กำเนิดของทารกในครรภ์ ตามมา โรคนี้ยังไม่มีวัคซีนหรือวิธีการรักษาเฉพาะทาง แต่จะเน้นไปที่การบรรเทาอาการป่วย รวมถึงการพักผ่อน การให้น้ำ และการใช้ยาพาราเซตามอลเพื่อลดไข้และอาการปวด ควรหลีกเลี่ยงแอสไพรินและยาแก้อักเสบชนิดไม่ใช่สเตอรอยด์ (NSAID) เช่น ไอบูโปรเฟน
การระบาดของโรค จะแพร่กระจายได้ง่าย เนื่องจากการเดินทางที่สะดวกและรวดเร็วอาการของโรคไข้ซิกามีผลต่อระบบประสาท ในระบบภูมิคุ้มกัน
จากการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม – ๖ ธันวาคม ๒๕๕๙ พบว่ามีผู้ป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกในอำเภอสุไหงโก-ลกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องรวมทั้งสิ้น ๒๕๙ ราย และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในช่วงฤดูฝน ประกอบกับมีการรายงานว่าพบผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสซิกา ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาสแล้วหลายรายสำหรับในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกพบผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสซิกาแล้ว ๑ ราย ซึ่งโรคทั้ง 2 นี้มียุงลายเป็นพาหะนำโรค การป้องกันที่ดีที่สุดคือการป้องกันไม่ให้ถูกยุงกัด และการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของลูกน้ำยุงลายต่อเนื่องทุกสัปดาห์ด้วยมาตรการ 3 เก็บ เก็บน้ำ เก็บบ้าน ( หรือสถานที่ทำงาน )เก็บขยะ เพื่อตัดวงจรการแพร่ระบาดของโรค
ดังนั้นเพื่อการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไวรัสซิกาจึงต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนทั้งส่วนราชการภาคประชาชน โรงเรียน วัด มัสยิด ศูนย์เด็กเล็ก โดยเฉพาะชุมชน และย่านการค้าซึ่งต้องดำเนินการอย่างเข้มข้นครอบคลุมและต่อเนื่องในส่วนของกลุ่มเสี่ยงหญิงตั้งครรภ์ ซึ่งต้องได้รับการคัดกรองตรวจหาเชื้อไวรัสทางห้องปฏิบัติการเพื่อการยืนยันผลตรวจ ต้องได้รับการดูแลติดตามเฝ้าระวังภาวะผิดปกติของทารกในครรภ์ต่อเนื่องจนคลอด ส่วนทารกต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องและประเมินพัฒนาการนาน 2 ปี เช่นกันจากเหตุผลข้างต้น ทางกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงขอจัดทำโครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสซิกา เขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
- 2.เพื่อสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ของลูกน้ำยุงลาย
- 3.เพื่อกระตุ้นให้คนในชุมชนตระหนักเห็นความสำคัญในการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
- 4.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ นักเรียน ชาวชุมชน มีส่วนร่วมในการรณรงค์ และ รักษาความสะอาดภายในโรงเรียนชุมชนเพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ของลูกน้ำยุงลาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
20,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็ก เยาวชน คนในชุมชน มีจิตสำนึกในการเฝ้าระวัง ป้องกันไข้เลือดออกและช่วยกัน ดูแล รักษาความสะอาด
2.มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายลดลง ทั้ง HI CI
3.จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกลดลง
4.เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือระหว่างองค์กรและชาวชุมชนในการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลสุไหงโก-ลก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
ตัวชี้วัด : มีกิจกรรมการเฝ้าระวัง ป้องกัน และ ควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไวรัสซิก้า ในชุมชน
2
2.เพื่อสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ของลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : มีการลงสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ของลูกน้ำยุงลาย โดยชุมชน
3
3.เพื่อกระตุ้นให้คนในชุมชนตระหนักเห็นความสำคัญในการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
ตัวชี้วัด : ชาวชุมชน มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
4
4.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ นักเรียน ชาวชุมชน มีส่วนร่วมในการรณรงค์ และ รักษาความสะอาดภายในโรงเรียนชุมชนเพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ของลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : นักเรียนชาวชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมรณรงค์รักษาความสะอาดในชุมชนโรงเรียน ศพด. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์ุลุกน้ำยุงลาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
20000
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
20,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า (2) 2.เพื่อสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ของลูกน้ำยุงลาย (3) 3.เพื่อกระตุ้นให้คนในชุมชนตระหนักเห็นความสำคัญในการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา (4) 4.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ นักเรียน ชาวชุมชน มีส่วนร่วมในการรณรงค์ และ รักษาความสะอาดภายในโรงเรียนชุมชนเพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ของลูกน้ำยุงลาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L6961-01-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสุไหงโกลก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า ”
ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสุไหงโกลก
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L6961-01-11 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 ธันวาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L6961-01-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 ธันวาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 73,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้ซิกา เกิดขึ้นโดยมียุงลายเป็นพาหะนำโรคระยะฟักตัวของโรคไข้ซิกา ใช้เวลาประมาณ 3 - 12 วัน อาการของโรคไข้ซิกา คล้ายกับ โรคที่เกิดจาก อาร์โบไวรัส (Arbovirus) ซึ่งเป็นเชื้อไวรัสที่มีแมลงเป็นพาหะนำโรค เช่น โรคไข้สมองอักเสบ โรคไข้เหลือง และโรค ไข้เลือดออก เป็นต้น โดยมีอาการไข้ มี ผื่นแดง เยื่อบุตาอักเสบ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ อาการเหล่านี้ปกติแล้วจะเป็นเพียงเล็กน้อย และอาการจะเป็นอยู่ประมาณ 2 - 7 วันส่วนใหญ่จะไม่มีอาการ ในผู้ป่วยบางราย ไวรัสซิกาอาจก่อให้เกิดโรคอัมพาต (Guillain-Barre Syndrome หรือกลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เร) และในสตรีตั้งครรภ์ อาจทำให้เกิดความพิการแต่กำเนิดของทารกในครรภ์ ตามมา โรคนี้ยังไม่มีวัคซีนหรือวิธีการรักษาเฉพาะทาง แต่จะเน้นไปที่การบรรเทาอาการป่วย รวมถึงการพักผ่อน การให้น้ำ และการใช้ยาพาราเซตามอลเพื่อลดไข้และอาการปวด ควรหลีกเลี่ยงแอสไพรินและยาแก้อักเสบชนิดไม่ใช่สเตอรอยด์ (NSAID) เช่น ไอบูโปรเฟน การระบาดของโรค จะแพร่กระจายได้ง่าย เนื่องจากการเดินทางที่สะดวกและรวดเร็วอาการของโรคไข้ซิกามีผลต่อระบบประสาท ในระบบภูมิคุ้มกัน
จากการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม – ๖ ธันวาคม ๒๕๕๙ พบว่ามีผู้ป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกในอำเภอสุไหงโก-ลกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องรวมทั้งสิ้น ๒๕๙ ราย และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในช่วงฤดูฝน ประกอบกับมีการรายงานว่าพบผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสซิกา ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาสแล้วหลายรายสำหรับในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกพบผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสซิกาแล้ว ๑ ราย ซึ่งโรคทั้ง 2 นี้มียุงลายเป็นพาหะนำโรค การป้องกันที่ดีที่สุดคือการป้องกันไม่ให้ถูกยุงกัด และการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของลูกน้ำยุงลายต่อเนื่องทุกสัปดาห์ด้วยมาตรการ 3 เก็บ เก็บน้ำ เก็บบ้าน ( หรือสถานที่ทำงาน )เก็บขยะ เพื่อตัดวงจรการแพร่ระบาดของโรค
ดังนั้นเพื่อการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไวรัสซิกาจึงต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนทั้งส่วนราชการภาคประชาชน โรงเรียน วัด มัสยิด ศูนย์เด็กเล็ก โดยเฉพาะชุมชน และย่านการค้าซึ่งต้องดำเนินการอย่างเข้มข้นครอบคลุมและต่อเนื่องในส่วนของกลุ่มเสี่ยงหญิงตั้งครรภ์ ซึ่งต้องได้รับการคัดกรองตรวจหาเชื้อไวรัสทางห้องปฏิบัติการเพื่อการยืนยันผลตรวจ ต้องได้รับการดูแลติดตามเฝ้าระวังภาวะผิดปกติของทารกในครรภ์ต่อเนื่องจนคลอด ส่วนทารกต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องและประเมินพัฒนาการนาน 2 ปี เช่นกันจากเหตุผลข้างต้น ทางกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงขอจัดทำโครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสซิกา เขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
- 2.เพื่อสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ของลูกน้ำยุงลาย
- 3.เพื่อกระตุ้นให้คนในชุมชนตระหนักเห็นความสำคัญในการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
- 4.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ นักเรียน ชาวชุมชน มีส่วนร่วมในการรณรงค์ และ รักษาความสะอาดภายในโรงเรียนชุมชนเพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ของลูกน้ำยุงลาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 20,000 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็ก เยาวชน คนในชุมชน มีจิตสำนึกในการเฝ้าระวัง ป้องกันไข้เลือดออกและช่วยกัน ดูแล รักษาความสะอาด
2.มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายลดลง ทั้ง HI CI
3.จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกลดลง
4.เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือระหว่างองค์กรและชาวชุมชนในการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลสุไหงโก-ลก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า ตัวชี้วัด : มีกิจกรรมการเฝ้าระวัง ป้องกัน และ ควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไวรัสซิก้า ในชุมชน |
|
|||
2 | 2.เพื่อสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ของลูกน้ำยุงลาย ตัวชี้วัด : มีการลงสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ของลูกน้ำยุงลาย โดยชุมชน |
|
|||
3 | 3.เพื่อกระตุ้นให้คนในชุมชนตระหนักเห็นความสำคัญในการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา ตัวชี้วัด : ชาวชุมชน มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า |
|
|||
4 | 4.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ นักเรียน ชาวชุมชน มีส่วนร่วมในการรณรงค์ และ รักษาความสะอาดภายในโรงเรียนชุมชนเพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ของลูกน้ำยุงลาย ตัวชี้วัด : นักเรียนชาวชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมรณรงค์รักษาความสะอาดในชุมชนโรงเรียน ศพด. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์ุลุกน้ำยุงลาย |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 20000 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 20,000 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า (2) 2.เพื่อสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ของลูกน้ำยุงลาย (3) 3.เพื่อกระตุ้นให้คนในชุมชนตระหนักเห็นความสำคัญในการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา (4) 4.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ นักเรียน ชาวชุมชน มีส่วนร่วมในการรณรงค์ และ รักษาความสะอาดภายในโรงเรียนชุมชนเพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ของลูกน้ำยุงลาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L6961-01-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสุไหงโกลก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......