โครงการ ป้องกันเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อในชุมชน ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ประจำปี 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ ป้องกันเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อในชุมชน ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ประจำปี 2560 ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางบงกชพันธ์คงพยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการ ป้องกันเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อในชุมชน ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ประจำปี 2560
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-1-5 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ ป้องกันเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อในชุมชน ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ประจำปี 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ ป้องกันเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อในชุมชน ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ประจำปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ ป้องกันเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อในชุมชน ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7250-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,650.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเรื้อรังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ อาจเกิดโรคแทรกซ้อนทำให้เกิดทุพพลภาพและเสียชีวิตได้ เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจขาดเลือด โรคไตวาย โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง โรคเหล่านี้เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดความพิการ ได้แก่ อัมพาต อัมพฤกษ์ ซึ่งภาวะแทรกซ้อนดังกล่าว นอกจากจะส่งผลต่อตัวผู้ป่วยเองแล้วยังส่งผลต่อครอบครัว ชุมชน รวมถึงประเทศชาติ จากข้อมูลการดำเนินงานเฝ้าระวังควบคุมโรคไม่ติดต่อในเขตเทศบาลนครสงขลา ปี 2559 ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ในกลุ่มประชากร อายุ 35 ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง คิดเป็นร้อยละ 93.96 พบเป็นกลุ่มเสี่ยงสูง ร้อยละ 24.07 สงสัยเป็นโรค ร้อยละ 4.88 และที่ได้รับการคัดกรองเบาหวาน คิดเป็นร้อยละ 89.75 พบเป็นกลุ่มเสี่ยงสูง ร้อยละ 5.15 สงสัยเป็นโรค ร้อยละ 0.80 คน จากการประเมินติดตามเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ พบว่ามีกลุ่มเสี่ยงต่อเกิดโรคไม่ติดต่อ ร้อยละ 43.27 ส่วนในกลุ่มสตรีอายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพียงร้อยละ 9.53
ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ได้เห็นถึงความสำคัญของการป้องกัน เฝ้าระวังและควบคุมโรคไม่ติดต่อ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงและลดการเกิดโรครายใหม่ โดยการคัดกรอง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เข้มข้น ให้คำแนะนำในการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง การติดตามดูแลเพื่อให้สามารถดูแลตัวเองได้ และอยู่อย่างปกติสุข
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดการเกิดโรครายใหม่
- 2. เพื่อให้ผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการรักษาตามมาตรฐาน ส่งต่อทันเวลา และลดภาวะแทรกซ้อนของโรค
- 3. เพื่อให้กลุ่มสตรี อายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพตามเกณฑ์
- 4. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
300
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
120
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
160
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชากรกลุ่มสตรีอายุ 30 - 60 ปี พร้อมผู้สูงอายุและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับการตรวจสุขภาพตามเกณฑ์
- ประชากรกลุ่มเสี่ยงสูง ได้รับการติดตามดูแลสุขภาพไม่เป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่ สามารถดูแล สุขภาพกลับไปเป็นกลุ่มปกติ
3.ประชากรกลุ่มป่วยได้รับการดูแลรักษาตามมาตรฐาน สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม ไม่มีภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรค มีคุณภาพชีวิตที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- สรุปกิจกรรม ที่ได้ดำเนินการ มีดังนี้
- ประชุมชี้แจง ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน ร่วมกับ บุคลากรสาธารณสุข อสม. และแกนนำสุขภาพ ณ ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ จำนวน 4 ครั้ง ดังนี้
ครั้งที่ 1 วันที่ 19 พฤษภาคม 2560
ครั้งที่ 2 วันที่ 20 มิถุนายน 2560
ครั้งที่ 3 วันที่ 21 กรกฎาคม 2560
ครั้งที่ 4 วันที่ 21 สิงหาคม 2560
2. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อป้องกันการเกิดโรครายใหม่ (กลุ่มเสี่ยงสูง) ณ ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ จำนวน 3 ครั้ง ดังนี้
ครั้งที่ 1 ติดตาม 2 เดือน วันที่ 23 พฤษภาคม 2560
ประเมินภาวะสุขภาพ (ชั่งน้ำหนัก/วัดความดันโลหิต/วัดรอบเอว) ให้ความรู้เรื่องหลักการบริโภคอาหารอย่างถูกวิธี/ใบ้คำอาหาร และให้ความรู้เรื่องโรคข้อเข่าเสื่อม/การบริหารร่างกายเพื่อป้องกันการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม ผลการประเมินภาวะสุขภาพ พบว่า กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม เป็นกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ร้อยละ 16.67 กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง ร้อยละ 50.00 กลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง ร้อยละ 33.33
ครั้งที่ 2 ติดตาม 2 เดือน วันที่ 28 มิถุนายน 2560
ประเมินภาวะสุขภาพ (ชั่งน้ำหนัก/วัดความดันโลหิต/วัดรอบเอว) ให้ความรู้เรื่องผักผลไม้ที่ควรระวังในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และสาธิตวิธีทำน้ำเกลือแร่แก้ท้องร่วง สำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผลการประเมินภาวะสุขภาพ พบว่า กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม เป็นกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ร้อยละ 20.00 กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง ร้อยละ 50.00 และเป็นกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง ร้อยละ 13.33
ครั้งที่ 3 ติดตาม 2 เดือน วันที่ 26 กรกฎาคม 2560
ประเมินภาวะสุขภาพ (ชั่งน้ำหนัก/วัดความดันโลหิต/วัดรอบเอว) ให้ความรู้เรื่องโรคที่เราสร้างขึ้นเอง (NCD) และสาธิตการ 'แกว่งแขน' ลดพุงลดโรคอย่างถูกต้อง ผลการประเมินภาวะสุขภาพ พบว่า กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม เป็นกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ร้อยละ 16.67 กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง ร้อยละ 36.67 และเป็นกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง ร้อยละ 3.33
- จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ SHG (กลุ่มป่วย) จำนวน 6 ครั้ง ณ ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ดังนี้
ครั้งที่ 1 วันที่ 3 พฤษภาคม 2560
ให้ความรู้เรื่องการรับประทานยาที่ถูกวิธี และให้ความรู้เรื่อง 10 สัญญาณในร่างกาย ที่จะบอกว่าคุณเป็นโรค
ครั้งที่ 2 วันที่ 7 มิถุนายน 2560
ให้ความรู้เรื่องการจัดการความเครียด และนันทนาการเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ “นั่งรถรางชมเมืองสงขลา”
ครั้งที่ 3 วันที่ 5 กรกฎาคม 2560
ให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรคไต/อาการ/สาเหตุ ให้ความรู้เรื่องความสำคัญของระบบน้ำเหลืองในร่างกาย และสาธิตกายบริหารกระตุ้นต่อมน้ำเหลือง
ครั้งที่ 4 วันที่ 3 สิงหาคม 2560
ให้ความรู้เรื่อง 10 อันดับผลไม้แคลอรี่ต่ำ/ตารางแคลอรี่ผลไม้ 10 อันดับ ให้ความรู้เรื่อง ประโยชน์ของผลไม้ชนิดต่างๆ/สาธิตการทำเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ (ยำผลไม้)
ครั้งที่ 5 วันที่ 11 สิงหาคม 2560
ให้ความรู้เรื่อง นาฬิกาชีวิต และให้ความรู้เรื่องหลักการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ครั้งที่ 6 วันที่ 18 สิงหาคม 2560
ให้ความรู้เรื่องโรคไตและเล่าประสบการณ์จริง จากผู้ป่วยโรคไต/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสมาชิกภายในกลุ่ม
- คัดกรองและประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ ตามแบบฟอร์มสำหรับคัดกรองผู้สูงอายุ (Basic Geriatric Screening: BGS) จำนวน 300 คน ซึ่งผลการสำรวจสามารถนำมาเป็นฐานข้อมูลใช้สำหรับดูแลพฤติกรรมสุขภาพผู้สูงอายุในด้านต่าง ๆ เช่น ช่องปาก ภาวะซึมเศร้า สภาพสมอง เข่าเสื่อม หกล้ม กลั้นปัสสาวะ ตลอดจนความสามารถในการทำกิจวัตร และพฤติกรรมพึงประสงค์ ทั้งนี้เพื่อเป็นการจัดหากิจกรรมที่เหมาะสมสำหรับกลุ่มผู้สูงอายุที่มีที่มีปัญหาพฤติกรรมสุขภาพในด้านต่าง ๆ ต่อไป
- คัดกรองและประเมินคุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ตามแบบประเมินคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลก ชุดย่อ ฉบับภาษาไทย (WHOQOL–BREF–THAI) จำนวน 120 คน ซึ่งผลการสำรวจสามารถนำมาเป็นฐานข้อมูลใช้สำหรับดูแลคุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคเรื้อรังในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านสุขภาพร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสัมพันธภาพทางสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้เพื่อเป็นการจัดหากิจกรรมที่เหมาะสมสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาคุณภาพชีวิตในด้านต่าง ๆ ต่อไป
การประเมินผล สรุปโครงการ
สรุปการใช้งบประมาณ
5.1 งบประมาณที่ได้รับจัดสรร จำนวนทั้งสิ้น 34,650 บาท
5.2 งบประมาณที่ใช้จริง จำนวนทั้งสิ้น 22,570 บาท
ดังรายการต่อไปนี้
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวนทั้งสิ้น 13,750 บาท
2. ค่าชุดส่งเสริมสุขภาพสตรี จำนวนทั้งสิ้น - บาท
- ค่าจ้างสำรวจและประเมินภาวะสุขภาพ จำนวนทั้งสิ้น 6,000 บาท
ผู้สูงอายุสำหรับแกนนำ
- ค่าจ้างสำรวจและประเมินคุณภาพชีวิต จำนวนทั้งสิ้น 2,400 บาท
ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
5. ค่าเอกสารสำรวจ จำนวนทั้งสิ้น 420 บาท
รวม 22,570 บาท
5.3 เหลือคืนกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครสงขลา จำนวนทั้งสิ้น 12,080 บาท
หมายเหตุ : ยอดเงินคงเหลือเนื่องจาก
- กิจกรรมที่ 3 ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในกลุ่มสตรีอายุ 30 – 60 ปี ค่าชุดส่งเสริมสุขภาพสตรี ที่มารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก เกิดข้อท้วงติงจากทาง รพ.สงขลา เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปในแนวทางเดียวกัน จึงยกเลิก ค่าชุดส่งเสริมสุขภาพสตรี ที่มารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก เหลือคืน จำนวน 10,000 บาท
- กิจกรรมที่ 5 และ กิจกรรมที่ 6 ค่าเอกสารสำรวจ เหลือคืน จำนวน 2,080 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดการเกิดโรครายใหม่
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเสี่ยงสูง ได้รับการวินิจฉัย เป็นผู้ป่วยรายใหม่ น้อยกว่าร้อยละ 3
2
2. เพื่อให้ผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการรักษาตามมาตรฐาน ส่งต่อทันเวลา และลดภาวะแทรกซ้อนของโรค
ตัวชี้วัด : 2. กลุ่มป่วยมีภาวะแทรกซ้อนน้อยกว่าร้อยละ 3
3
3. เพื่อให้กลุ่มสตรี อายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : 3. สตรี อายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 20
4
4. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชน
ตัวชี้วัด : 4. ผู้สูงอายุได้รับการประเมิน ADL/พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์มากกว่าร้อยละ 90
5
ตัวชี้วัด : 5. ผู้สูงอายุได้รับการเยี่ยมดูแลตามเกณฑ์ร้อยละ 100
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
580
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
300
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
120
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
160
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดการเกิดโรครายใหม่ (2) 2. เพื่อให้ผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการรักษาตามมาตรฐาน ส่งต่อทันเวลา และลดภาวะแทรกซ้อนของโรค (3) 3. เพื่อให้กลุ่มสตรี อายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพตามเกณฑ์ (4) 4. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชน (5)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ ป้องกันเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อในชุมชน ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ประจำปี 2560 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-1-5
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางบงกชพันธ์คงพยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ ป้องกันเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อในชุมชน ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ประจำปี 2560 ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางบงกชพันธ์คงพยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
กันยายน 2560
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-1-5 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ ป้องกันเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อในชุมชน ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ประจำปี 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ ป้องกันเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อในชุมชน ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ประจำปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ ป้องกันเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อในชุมชน ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7250-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,650.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเรื้อรังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ อาจเกิดโรคแทรกซ้อนทำให้เกิดทุพพลภาพและเสียชีวิตได้ เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจขาดเลือด โรคไตวาย โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง โรคเหล่านี้เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดความพิการ ได้แก่ อัมพาต อัมพฤกษ์ ซึ่งภาวะแทรกซ้อนดังกล่าว นอกจากจะส่งผลต่อตัวผู้ป่วยเองแล้วยังส่งผลต่อครอบครัว ชุมชน รวมถึงประเทศชาติ จากข้อมูลการดำเนินงานเฝ้าระวังควบคุมโรคไม่ติดต่อในเขตเทศบาลนครสงขลา ปี 2559 ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ในกลุ่มประชากร อายุ 35 ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง คิดเป็นร้อยละ 93.96 พบเป็นกลุ่มเสี่ยงสูง ร้อยละ 24.07 สงสัยเป็นโรค ร้อยละ 4.88 และที่ได้รับการคัดกรองเบาหวาน คิดเป็นร้อยละ 89.75 พบเป็นกลุ่มเสี่ยงสูง ร้อยละ 5.15 สงสัยเป็นโรค ร้อยละ 0.80 คน จากการประเมินติดตามเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ พบว่ามีกลุ่มเสี่ยงต่อเกิดโรคไม่ติดต่อ ร้อยละ 43.27 ส่วนในกลุ่มสตรีอายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพียงร้อยละ 9.53 ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ได้เห็นถึงความสำคัญของการป้องกัน เฝ้าระวังและควบคุมโรคไม่ติดต่อ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงและลดการเกิดโรครายใหม่ โดยการคัดกรอง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เข้มข้น ให้คำแนะนำในการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง การติดตามดูแลเพื่อให้สามารถดูแลตัวเองได้ และอยู่อย่างปกติสุข
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดการเกิดโรครายใหม่
- 2. เพื่อให้ผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการรักษาตามมาตรฐาน ส่งต่อทันเวลา และลดภาวะแทรกซ้อนของโรค
- 3. เพื่อให้กลุ่มสตรี อายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพตามเกณฑ์
- 4. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 300 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 120 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 160 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชากรกลุ่มสตรีอายุ 30 - 60 ปี พร้อมผู้สูงอายุและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับการตรวจสุขภาพตามเกณฑ์
- ประชากรกลุ่มเสี่ยงสูง ได้รับการติดตามดูแลสุขภาพไม่เป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่ สามารถดูแล สุขภาพกลับไปเป็นกลุ่มปกติ 3.ประชากรกลุ่มป่วยได้รับการดูแลรักษาตามมาตรฐาน สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม ไม่มีภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรค มีคุณภาพชีวิตที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- สรุปกิจกรรม ที่ได้ดำเนินการ มีดังนี้
- ประชุมชี้แจง ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน ร่วมกับ บุคลากรสาธารณสุข อสม. และแกนนำสุขภาพ ณ ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ จำนวน 4 ครั้ง ดังนี้
ครั้งที่ 1 วันที่ 19 พฤษภาคม 2560
ครั้งที่ 2 วันที่ 20 มิถุนายน 2560
ครั้งที่ 3 วันที่ 21 กรกฎาคม 2560
ครั้งที่ 4 วันที่ 21 สิงหาคม 2560
2. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อป้องกันการเกิดโรครายใหม่ (กลุ่มเสี่ยงสูง) ณ ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ จำนวน 3 ครั้ง ดังนี้
ครั้งที่ 1 ติดตาม 2 เดือน วันที่ 23 พฤษภาคม 2560
ประเมินภาวะสุขภาพ (ชั่งน้ำหนัก/วัดความดันโลหิต/วัดรอบเอว) ให้ความรู้เรื่องหลักการบริโภคอาหารอย่างถูกวิธี/ใบ้คำอาหาร และให้ความรู้เรื่องโรคข้อเข่าเสื่อม/การบริหารร่างกายเพื่อป้องกันการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม ผลการประเมินภาวะสุขภาพ พบว่า กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม เป็นกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ร้อยละ 16.67 กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง ร้อยละ 50.00 กลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง ร้อยละ 33.33
ครั้งที่ 2 ติดตาม 2 เดือน วันที่ 28 มิถุนายน 2560 ประเมินภาวะสุขภาพ (ชั่งน้ำหนัก/วัดความดันโลหิต/วัดรอบเอว) ให้ความรู้เรื่องผักผลไม้ที่ควรระวังในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และสาธิตวิธีทำน้ำเกลือแร่แก้ท้องร่วง สำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผลการประเมินภาวะสุขภาพ พบว่า กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม เป็นกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ร้อยละ 20.00 กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง ร้อยละ 50.00 และเป็นกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง ร้อยละ 13.33
ครั้งที่ 3 ติดตาม 2 เดือน วันที่ 26 กรกฎาคม 2560 ประเมินภาวะสุขภาพ (ชั่งน้ำหนัก/วัดความดันโลหิต/วัดรอบเอว) ให้ความรู้เรื่องโรคที่เราสร้างขึ้นเอง (NCD) และสาธิตการ 'แกว่งแขน' ลดพุงลดโรคอย่างถูกต้อง ผลการประเมินภาวะสุขภาพ พบว่า กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม เป็นกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ร้อยละ 16.67 กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง ร้อยละ 36.67 และเป็นกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง ร้อยละ 3.33
- ประชุมชี้แจง ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน ร่วมกับ บุคลากรสาธารณสุข อสม. และแกนนำสุขภาพ ณ ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ จำนวน 4 ครั้ง ดังนี้
ครั้งที่ 1 วันที่ 19 พฤษภาคม 2560
ครั้งที่ 2 วันที่ 20 มิถุนายน 2560
ครั้งที่ 3 วันที่ 21 กรกฎาคม 2560
ครั้งที่ 4 วันที่ 21 สิงหาคม 2560
2. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อป้องกันการเกิดโรครายใหม่ (กลุ่มเสี่ยงสูง) ณ ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ จำนวน 3 ครั้ง ดังนี้
ครั้งที่ 1 ติดตาม 2 เดือน วันที่ 23 พฤษภาคม 2560
ประเมินภาวะสุขภาพ (ชั่งน้ำหนัก/วัดความดันโลหิต/วัดรอบเอว) ให้ความรู้เรื่องหลักการบริโภคอาหารอย่างถูกวิธี/ใบ้คำอาหาร และให้ความรู้เรื่องโรคข้อเข่าเสื่อม/การบริหารร่างกายเพื่อป้องกันการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม ผลการประเมินภาวะสุขภาพ พบว่า กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม เป็นกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ร้อยละ 16.67 กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง ร้อยละ 50.00 กลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง ร้อยละ 33.33
- จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ SHG (กลุ่มป่วย) จำนวน 6 ครั้ง ณ ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ดังนี้
ครั้งที่ 1 วันที่ 3 พฤษภาคม 2560
ให้ความรู้เรื่องการรับประทานยาที่ถูกวิธี และให้ความรู้เรื่อง 10 สัญญาณในร่างกาย ที่จะบอกว่าคุณเป็นโรค
ครั้งที่ 2 วันที่ 7 มิถุนายน 2560
ให้ความรู้เรื่องการจัดการความเครียด และนันทนาการเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ “นั่งรถรางชมเมืองสงขลา”
ครั้งที่ 3 วันที่ 5 กรกฎาคม 2560
ให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรคไต/อาการ/สาเหตุ ให้ความรู้เรื่องความสำคัญของระบบน้ำเหลืองในร่างกาย และสาธิตกายบริหารกระตุ้นต่อมน้ำเหลือง
ครั้งที่ 4 วันที่ 3 สิงหาคม 2560
ให้ความรู้เรื่อง 10 อันดับผลไม้แคลอรี่ต่ำ/ตารางแคลอรี่ผลไม้ 10 อันดับ ให้ความรู้เรื่อง ประโยชน์ของผลไม้ชนิดต่างๆ/สาธิตการทำเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ (ยำผลไม้)
ครั้งที่ 5 วันที่ 11 สิงหาคม 2560
ให้ความรู้เรื่อง นาฬิกาชีวิต และให้ความรู้เรื่องหลักการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ครั้งที่ 6 วันที่ 18 สิงหาคม 2560
ให้ความรู้เรื่องโรคไตและเล่าประสบการณ์จริง จากผู้ป่วยโรคไต/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสมาชิกภายในกลุ่ม
- คัดกรองและประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ ตามแบบฟอร์มสำหรับคัดกรองผู้สูงอายุ (Basic Geriatric Screening: BGS) จำนวน 300 คน ซึ่งผลการสำรวจสามารถนำมาเป็นฐานข้อมูลใช้สำหรับดูแลพฤติกรรมสุขภาพผู้สูงอายุในด้านต่าง ๆ เช่น ช่องปาก ภาวะซึมเศร้า สภาพสมอง เข่าเสื่อม หกล้ม กลั้นปัสสาวะ ตลอดจนความสามารถในการทำกิจวัตร และพฤติกรรมพึงประสงค์ ทั้งนี้เพื่อเป็นการจัดหากิจกรรมที่เหมาะสมสำหรับกลุ่มผู้สูงอายุที่มีที่มีปัญหาพฤติกรรมสุขภาพในด้านต่าง ๆ ต่อไป
- คัดกรองและประเมินคุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ตามแบบประเมินคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลก ชุดย่อ ฉบับภาษาไทย (WHOQOL–BREF–THAI) จำนวน 120 คน ซึ่งผลการสำรวจสามารถนำมาเป็นฐานข้อมูลใช้สำหรับดูแลคุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคเรื้อรังในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านสุขภาพร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสัมพันธภาพทางสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้เพื่อเป็นการจัดหากิจกรรมที่เหมาะสมสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาคุณภาพชีวิตในด้านต่าง ๆ ต่อไป
การประเมินผล สรุปโครงการ
สรุปการใช้งบประมาณ 5.1 งบประมาณที่ได้รับจัดสรร จำนวนทั้งสิ้น 34,650 บาท 5.2 งบประมาณที่ใช้จริง จำนวนทั้งสิ้น 22,570 บาท ดังรายการต่อไปนี้ 1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวนทั้งสิ้น 13,750 บาท 2. ค่าชุดส่งเสริมสุขภาพสตรี จำนวนทั้งสิ้น - บาท
- ค่าจ้างสำรวจและประเมินภาวะสุขภาพ จำนวนทั้งสิ้น 6,000 บาท ผู้สูงอายุสำหรับแกนนำ
- ค่าจ้างสำรวจและประเมินคุณภาพชีวิต จำนวนทั้งสิ้น 2,400 บาท
ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
5. ค่าเอกสารสำรวจ จำนวนทั้งสิ้น 420 บาท
รวม 22,570 บาท
5.3 เหลือคืนกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครสงขลา จำนวนทั้งสิ้น 12,080 บาท
หมายเหตุ : ยอดเงินคงเหลือเนื่องจาก
- กิจกรรมที่ 3 ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในกลุ่มสตรีอายุ 30 – 60 ปี ค่าชุดส่งเสริมสุขภาพสตรี ที่มารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก เกิดข้อท้วงติงจากทาง รพ.สงขลา เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปในแนวทางเดียวกัน จึงยกเลิก ค่าชุดส่งเสริมสุขภาพสตรี ที่มารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก เหลือคืน จำนวน 10,000 บาท
- กิจกรรมที่ 5 และ กิจกรรมที่ 6 ค่าเอกสารสำรวจ เหลือคืน จำนวน 2,080 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดการเกิดโรครายใหม่ ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเสี่ยงสูง ได้รับการวินิจฉัย เป็นผู้ป่วยรายใหม่ น้อยกว่าร้อยละ 3 |
|
|||
2 | 2. เพื่อให้ผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการรักษาตามมาตรฐาน ส่งต่อทันเวลา และลดภาวะแทรกซ้อนของโรค ตัวชี้วัด : 2. กลุ่มป่วยมีภาวะแทรกซ้อนน้อยกว่าร้อยละ 3 |
|
|||
3 | 3. เพื่อให้กลุ่มสตรี อายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพตามเกณฑ์ ตัวชี้วัด : 3. สตรี อายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 20 |
|
|||
4 | 4. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชน ตัวชี้วัด : 4. ผู้สูงอายุได้รับการประเมิน ADL/พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์มากกว่าร้อยละ 90 |
|
|||
5 | ตัวชี้วัด : 5. ผู้สูงอายุได้รับการเยี่ยมดูแลตามเกณฑ์ร้อยละ 100 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 580 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 300 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 120 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 160 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดการเกิดโรครายใหม่ (2) 2. เพื่อให้ผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการรักษาตามมาตรฐาน ส่งต่อทันเวลา และลดภาวะแทรกซ้อนของโรค (3) 3. เพื่อให้กลุ่มสตรี อายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพตามเกณฑ์ (4) 4. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชน (5)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ ป้องกันเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อในชุมชน ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ประจำปี 2560 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-1-5
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางบงกชพันธ์คงพยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......