โครงการเครือข่ายอาสาสมัครอาหารปลอดภัย เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเครือข่ายอาสาสมัครอาหารปลอดภัย เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2560 ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอุดมลักษณ์บุญนวล เจ้าพนักงานสุขาภิบาลชำนาญงาน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา
สิงหาคม 2560
ชื่อโครงการ โครงการเครือข่ายอาสาสมัครอาหารปลอดภัย เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2560
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-1-13 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเครือข่ายอาสาสมัครอาหารปลอดภัย เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเครือข่ายอาสาสมัครอาหารปลอดภัย เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเครือข่ายอาสาสมัครอาหารปลอดภัย เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7250-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 79,900.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เนื่องจากมนุษย์ทุกคนนั้นต้องการน้ำและอาหารเพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอยู่รอดได้ ฉะนั้นอาหารที่ปลอดภัยปราศจากเชื้อโรคและสารเคมีที่เป็นพิษเมื่อบริโภคเข้าสู่ร่างกายแล้วก่อให้เกิดประโยชน์ต่อร่างกายช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโตและมีสุขภาพแข็งแรง ส่วนอาหารที่มีการปนเปื้อนของเชื้อโรคและสารเคมีที่เป็นพิษ เมื่อบริโภคเข้าไปแล้วก็จะก่อให้เกิดโทษมากกว่าเกิดประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น โรคที่เกี่ยวกับทางเดินอาหารเกิดจากการบริโภคอาหารที่ปนเปื้อนจากเชื้อแบคทีเรีย ได้แก่ เชื้อ E coliโรคมะเร็งเกิดจากการบริโภคอาหารที่ปนเปื้อนสารพิษจำพวกยาฆ่าแมลงสะสมเป็นเวลานาน หรือเมื่อบริโภคเข้าไปแล้วอาจเสียชีวิตได้เกิดจากการบริโภคอาหารที่ปนเปื้อนสารพิษในปริมาณมากในครั้งเดียวเช่น สารเคมีจำพวกสารบอแร็กซ์(น้ำประสานทอง)ที่มักพบปนเปื้อนใน หมูบด ลูกชิ้นไส้กรอก สารเคมีจำพวกสารฟอร์มาลีน (น้ำยาดองศพ)ที่มักพบปนเปื้อนในอาหารทะเลแช่แข็ง ในปลาหมึก กุ้ง บางครั้งอาจพบในเครื่องในสัตว์สารกันราที่มักพบปนเปื้อนใน ผักกาดดอง หน่อไม้ดอง ผลไม้ดอง สารฟอกขาวที่มักพบปนเปื้อนใน ถั่วงอก ขิงหั่นฝอย หน่อไม้ น้ำมะพร้าว ยาฆ่าแมลงที่มักพบปนเปื้อนใน พืชผัก ผลไม้ ปลาเค็ม เป็นต้น
การบริโภคอาหารเพื่อให้ได้อาหารสะอาดปราศจากสารปนเปื้อนและมีคุณค่าตามหลักโภชนาการจำเป็นต้องสร้างความรู้ความเข้าใจต่อผู้ประกอบการร้านอาหาร รถเร่ และแผงลอยในเขตพื้นที่เทศบาลนครสงขลาที่มีเป็นจำนวนมาก เครือข่ายอาสาสมัครอาหารปลอดภัยจึงมีหน้าที่ตรวจสอบและแนะนำผู้ประกอบการให้เข้าใจถึงหลักสุขาภิบาลอาหาร การประกอบอาหาร สะอาดและปลอดภัยต่อผู้บริโภค ซึ่งในปีงบประมาณที่ผ่านมากองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมได้จัดอบรมให้แก่เครือข่ายอาสาสมัครอาหารปลอดภัยไปแล้วทั้งสิ้นจำนวน ๕๐ คน ซึ่งได้รับความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตนและแนะนำผู้ประกอบการให้ปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร ความปลอดภัยด้านอาหาร พร้อมทั้งฝึกปฏิบัติจริงในการทดสอบหาเชื้อโรคและสารพิษที่ปนเปื้อนในอาหารเพื่อเป็นการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารอีกด้วย
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา มีความตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวและเพื่อเพิ่มเครือข่ายอาสาสมัครอาหารปลอดภัยในกลุ่มเป้าหมายอื่น จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อให้ประชาชนในเขตพื้นที่เทศบาลนครสงขลา ได้มีความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยของการบริโภคอาหารจากร้านจำหน่ายอาหารต่างๆ และเพื่อเป็นการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคในทางสาธารณสุขอีกด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้อาสาสมัครอาหารปลอดภัยและผู้ประกอบการร้านอาหารที่เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น
- ๒. เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังการปนเปื้อนของเชื้อโรคและสารพิษในอาหาร
- ๓. เพื่อกระตุ้นให้ผู้ประกอบการเกิดจิตสำนึกในการประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารที่สะอาดปลอดภัย มีความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค
- ๔. เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับประทานอาหารที่ สะอาด ปลอดภัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ประกอบการร้านอาหาร รถเร่ และแผงลอย มีความรู้ความเข้าใจ เรื่องหลักสุขาภิบาลอาหาร
- ผู้ประกอบการมีการปรับปรุงพัฒนาอย่างมีมาตรฐาน และถูกสุขลักษณะตามมาตรฐาน
- ผู้ประกอบการร้านจำหน่ายอาหารทุกกลุ่มเป้าหมายมีจิตสำนึกและมีความรับผิดชอบต่อผู้บริโภคในการปรุง จำหน่ายอาหารที่ปลอดภัย
- ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัย มีความรู้ได้รับข้อมูลข่าวสารที่ช่วยให้มีทางเลือกในการซื้ออาหาร จากสถานประกอบการที่ปลอดภัย
- เครือข่ายอาสาสมัครอาหารปลอดภัยช่วยปฏิบัติราชการด้านงานสุขาภิบาล และช่วยตรวจผู้ประกอบการกันเองอย่างเข้มแข็ง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อให้อาสาสมัครอาหารปลอดภัยและผู้ประกอบการร้านอาหารที่เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของอาสาสมัครอาหารปลอดภัยและผู้ประกอบการร้านอาหารที่เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นอยู่ในเกณฑ์ระดับ ดี ถึง ดีมาก หลังเข้ารับการอบรม
2
๒. เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังการปนเปื้อนของเชื้อโรคและสารพิษในอาหาร
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ ๑๐0 ของสถานประกอบการที่เข้ารับการอบรม จำนวน ๕๐ ร้าน ในพื้นที่เทศบาลนครสงขลาที่ได้รับการตรวจและผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
3
๓. เพื่อกระตุ้นให้ผู้ประกอบการเกิดจิตสำนึกในการประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารที่สะอาดปลอดภัย มีความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค
ตัวชี้วัด :
4
๔. เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับประทานอาหารที่ สะอาด ปลอดภัย
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
150
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้อาสาสมัครอาหารปลอดภัยและผู้ประกอบการร้านอาหารที่เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น (2) ๒. เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังการปนเปื้อนของเชื้อโรคและสารพิษในอาหาร (3) ๓. เพื่อกระตุ้นให้ผู้ประกอบการเกิดจิตสำนึกในการประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารที่สะอาดปลอดภัย มีความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค (4) ๔. เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับประทานอาหารที่ สะอาด ปลอดภัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเครือข่ายอาสาสมัครอาหารปลอดภัย เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-1-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวอุดมลักษณ์บุญนวล เจ้าพนักงานสุขาภิบาลชำนาญงาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเครือข่ายอาสาสมัครอาหารปลอดภัย เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2560 ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอุดมลักษณ์บุญนวล เจ้าพนักงานสุขาภิบาลชำนาญงาน
สิงหาคม 2560
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-1-13 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเครือข่ายอาสาสมัครอาหารปลอดภัย เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเครือข่ายอาสาสมัครอาหารปลอดภัย เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเครือข่ายอาสาสมัครอาหารปลอดภัย เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7250-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 79,900.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เนื่องจากมนุษย์ทุกคนนั้นต้องการน้ำและอาหารเพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอยู่รอดได้ ฉะนั้นอาหารที่ปลอดภัยปราศจากเชื้อโรคและสารเคมีที่เป็นพิษเมื่อบริโภคเข้าสู่ร่างกายแล้วก่อให้เกิดประโยชน์ต่อร่างกายช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโตและมีสุขภาพแข็งแรง ส่วนอาหารที่มีการปนเปื้อนของเชื้อโรคและสารเคมีที่เป็นพิษ เมื่อบริโภคเข้าไปแล้วก็จะก่อให้เกิดโทษมากกว่าเกิดประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น โรคที่เกี่ยวกับทางเดินอาหารเกิดจากการบริโภคอาหารที่ปนเปื้อนจากเชื้อแบคทีเรีย ได้แก่ เชื้อ E coliโรคมะเร็งเกิดจากการบริโภคอาหารที่ปนเปื้อนสารพิษจำพวกยาฆ่าแมลงสะสมเป็นเวลานาน หรือเมื่อบริโภคเข้าไปแล้วอาจเสียชีวิตได้เกิดจากการบริโภคอาหารที่ปนเปื้อนสารพิษในปริมาณมากในครั้งเดียวเช่น สารเคมีจำพวกสารบอแร็กซ์(น้ำประสานทอง)ที่มักพบปนเปื้อนใน หมูบด ลูกชิ้นไส้กรอก สารเคมีจำพวกสารฟอร์มาลีน (น้ำยาดองศพ)ที่มักพบปนเปื้อนในอาหารทะเลแช่แข็ง ในปลาหมึก กุ้ง บางครั้งอาจพบในเครื่องในสัตว์สารกันราที่มักพบปนเปื้อนใน ผักกาดดอง หน่อไม้ดอง ผลไม้ดอง สารฟอกขาวที่มักพบปนเปื้อนใน ถั่วงอก ขิงหั่นฝอย หน่อไม้ น้ำมะพร้าว ยาฆ่าแมลงที่มักพบปนเปื้อนใน พืชผัก ผลไม้ ปลาเค็ม เป็นต้น
การบริโภคอาหารเพื่อให้ได้อาหารสะอาดปราศจากสารปนเปื้อนและมีคุณค่าตามหลักโภชนาการจำเป็นต้องสร้างความรู้ความเข้าใจต่อผู้ประกอบการร้านอาหาร รถเร่ และแผงลอยในเขตพื้นที่เทศบาลนครสงขลาที่มีเป็นจำนวนมาก เครือข่ายอาสาสมัครอาหารปลอดภัยจึงมีหน้าที่ตรวจสอบและแนะนำผู้ประกอบการให้เข้าใจถึงหลักสุขาภิบาลอาหาร การประกอบอาหาร สะอาดและปลอดภัยต่อผู้บริโภค ซึ่งในปีงบประมาณที่ผ่านมากองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมได้จัดอบรมให้แก่เครือข่ายอาสาสมัครอาหารปลอดภัยไปแล้วทั้งสิ้นจำนวน ๕๐ คน ซึ่งได้รับความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตนและแนะนำผู้ประกอบการให้ปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร ความปลอดภัยด้านอาหาร พร้อมทั้งฝึกปฏิบัติจริงในการทดสอบหาเชื้อโรคและสารพิษที่ปนเปื้อนในอาหารเพื่อเป็นการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารอีกด้วย
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา มีความตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวและเพื่อเพิ่มเครือข่ายอาสาสมัครอาหารปลอดภัยในกลุ่มเป้าหมายอื่น จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อให้ประชาชนในเขตพื้นที่เทศบาลนครสงขลา ได้มีความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยของการบริโภคอาหารจากร้านจำหน่ายอาหารต่างๆ และเพื่อเป็นการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคในทางสาธารณสุขอีกด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้อาสาสมัครอาหารปลอดภัยและผู้ประกอบการร้านอาหารที่เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น
- ๒. เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังการปนเปื้อนของเชื้อโรคและสารพิษในอาหาร
- ๓. เพื่อกระตุ้นให้ผู้ประกอบการเกิดจิตสำนึกในการประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารที่สะอาดปลอดภัย มีความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค
- ๔. เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับประทานอาหารที่ สะอาด ปลอดภัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 150 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ประกอบการร้านอาหาร รถเร่ และแผงลอย มีความรู้ความเข้าใจ เรื่องหลักสุขาภิบาลอาหาร
- ผู้ประกอบการมีการปรับปรุงพัฒนาอย่างมีมาตรฐาน และถูกสุขลักษณะตามมาตรฐาน
- ผู้ประกอบการร้านจำหน่ายอาหารทุกกลุ่มเป้าหมายมีจิตสำนึกและมีความรับผิดชอบต่อผู้บริโภคในการปรุง จำหน่ายอาหารที่ปลอดภัย
- ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัย มีความรู้ได้รับข้อมูลข่าวสารที่ช่วยให้มีทางเลือกในการซื้ออาหาร จากสถานประกอบการที่ปลอดภัย
- เครือข่ายอาสาสมัครอาหารปลอดภัยช่วยปฏิบัติราชการด้านงานสุขาภิบาล และช่วยตรวจผู้ประกอบการกันเองอย่างเข้มแข็ง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อให้อาสาสมัครอาหารปลอดภัยและผู้ประกอบการร้านอาหารที่เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของอาสาสมัครอาหารปลอดภัยและผู้ประกอบการร้านอาหารที่เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นอยู่ในเกณฑ์ระดับ ดี ถึง ดีมาก หลังเข้ารับการอบรม |
|
|||
2 | ๒. เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังการปนเปื้อนของเชื้อโรคและสารพิษในอาหาร ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ ๑๐0 ของสถานประกอบการที่เข้ารับการอบรม จำนวน ๕๐ ร้าน ในพื้นที่เทศบาลนครสงขลาที่ได้รับการตรวจและผ่านเกณฑ์มาตรฐาน |
|
|||
3 | ๓. เพื่อกระตุ้นให้ผู้ประกอบการเกิดจิตสำนึกในการประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารที่สะอาดปลอดภัย มีความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | ๔. เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับประทานอาหารที่ สะอาด ปลอดภัย ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 150 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 150 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้อาสาสมัครอาหารปลอดภัยและผู้ประกอบการร้านอาหารที่เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น (2) ๒. เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังการปนเปื้อนของเชื้อโรคและสารพิษในอาหาร (3) ๓. เพื่อกระตุ้นให้ผู้ประกอบการเกิดจิตสำนึกในการประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารที่สะอาดปลอดภัย มีความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค (4) ๔. เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับประทานอาหารที่ สะอาด ปลอดภัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเครือข่ายอาสาสมัครอาหารปลอดภัย เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-1-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวอุดมลักษณ์บุญนวล เจ้าพนักงานสุขาภิบาลชำนาญงาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......