โครงการ พิษร้ายในยุงลาย คือ มหันตภัย โรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ พิษร้ายในยุงลาย คือ มหันตภัย โรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2560 ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางพัชราภรณ์นิลละออง ประธาน อสม.ชุมชนชัยมงคล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการ พิษร้ายในยุงลาย คือ มหันตภัย โรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2560
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-2-1 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ พิษร้ายในยุงลาย คือ มหันตภัย โรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ พิษร้ายในยุงลาย คือ มหันตภัย โรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ พิษร้ายในยุงลาย คือ มหันตภัย โรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7250-2-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,650.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยโรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ ซึ่งสามารถแพร่พันธุ์ได้ดีในช่วงฤดูฝน การรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน/ชุมชนจำเป็นต้องกระทำอย่างต่อเนื่องและจริงจัง ครอบคลุมทุกหลังคาเรือน เพื่อตัดวงจรการแพร่ระบาดเชื้อโรคไข้เลือดออกและจะต้องดำเนินการอย่างรวดเร็วเมื่อเกิดโรคในพื้นที่ จึงจะสามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกให้สงบได้ จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออก ปี 2559 พบว่า อัตราป่วยสะสมของโรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 51 ปี 2559ตั้งแต่ 1 มกราคม – 27 ธันวาคม 2559 ของจังหวัดสงขลา มีผู้ป่วย จำนวน 5,085 ราย คิดเป็นอัตราป่วยต่อแสนประชากร 361.68 และผู้ป่วยตาย 10 ราย คิดเป็นอัตราตายต่อแสนประชากร 0.71 (สำนักงานโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค, 2560) และสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม 2559 พบผู้ป่วยสะสมโรคไข้เลือดออกจำนวน 88 ราย (อัตราป่วย 1,735.70 ต่อแสนประชากร) ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี 2558 จำนวน 70 ราย ในขณะที่ชุมชนชัยมงคลซึ่งเป็น 1 ใน 10 ของชุมชนที่อยู่ในความรับผิดชอบของศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ มีผู้ป่วยจำนวนสูงสุดถึง 27 ราย และได้ทวีความรุนแรงอย่างต่อเนื่องในหลายพื้นที่ เนื่องจากมีประชากรที่หนาแน่นหลายพันครัวเรือนการปลูกอาคารบ้านเรือนที่หนาแน่น และชุมชนแออัด ส่งผลให้การดูแลทำความสะอาดถนน คูระบายน้ำ และพื้นที่สาธารณะต่างๆ ไม่ทั่วถึง อีกทั้งขาดความร่วมมือเอาใจใส่จากประชาชนในชุมชน จึงก่อให้เกิดการแพร่พันธ์ยุงลายในบริเวณกว้าง ทำให้มีผู้ป่วยและตายด้วยโรคไข้เลือดออก ทุกกลุ่มอายุและทุกวัย โดยคาดว่าจะมีจำนวนผู้ป่วยสูงขึ้นตลอดปี หากไม่มีการเร่งรัดป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก โดยเป้าหมายหลักคือ ต้องร่วมมือกันจำกัดลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรค
จากปัญหาดังกล่าว ทางชุมชนชัยมงคล ได้เห็นความสำคัญของการป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยมีความเห็นร่วมกันที่จะให้ แกนนำ อสม. เป็นผู้มีบทบาทกระตุ้นเตือนชุมชนและร่วมกันกำจัดลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องในชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในโรคไข้เลือดออก การมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนของตนเอง และการสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ เพื่อให้การดำเนินงานควบคุมโรคและป้องกันโรคไข้เลือดออกประสบผลสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้จึงได้จัดทำโครงการพิษร้ายในยุงลาย คือ มหันตภัย โรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ2560 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในกิจกรรมควบคุมและป้องกันโรค ไข้เลือดออก
- 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
- 3. เพื่อลดค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลาย โดยค่า HI ไม่เกิน 10 และ CI เท่ากับ 0
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนในชุมชนเกิดความตระหนักและมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังป้องกันโรคไข้เลือดออก
- ลดการแพร่ระบาดของโรคและลดอัตราป่วย/ของโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
สรุปกิจกรรม ที่ได้ดำเนินการ มีดังนี้
- ประชุมชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง/คณะทำงานและ แกนนำ อสม./ประชาชนในชุมชนเพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการ รายละเอียดกิจกรรม และติดตามการดำเนินงานโครงการ
- แกนนำ อสม./ประชาชน ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและขอความร่วมมือให้ประชาชนทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลาย ทางหอกระจายข่าว
- เดินรณรงค์ ให้มีการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดยุงลาย โดยวิธี การทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ใช้สารเคมี โดยการใส่ทรายอะเบทในตุ่มน้ำใช้ในครัวเรือน และสนับสนุนให้ชุมชนปลูกพืชไล่ยุง เช่น ตะไคร้หอมไล่ยุง การเลี้ยงปลากินลูกน้ำ รวมถึงแจกเอกสารแผ่นพับเกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน
- สำรวจและกำจัดลูกน้ำยุงลาย ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในชุมชน ตามมาตรการหลัก 3 เก็บ + 5ป. 1ข. + 5ส. ดังนี้ 3 เก็บ คือ เก็บบ้าน เก็บน้ำ เก็บขยะ 5ป. 1ข. คือ 1. ปิดภาชนะใส่น้ำให้มิดชิด ป้องกันยุงลายวางไข่ ในภาชนะที่ปิดฝาไม่ได้ หรือให้ใส่เกลือ น้ำส้มสายชู หรือผงซักฟอกลงในจานรองตู้กับข้าวเพื่อป้องกันไม่ให้ยุงลายวางไข่ได้ 2. เปลี่ยนน้ำในแจกันดอกไม้ จานรองขาตู้กับข้าว และภาชนะใส่น้ำที่ให้สัตว์เลี้ยงต่างๆ ภายในบ้านเรือน เช่น นก ไก่ สุนัข แมว ทุกสัปดาห์หรือใส่เกลือแกง น้ำส้มสายชู ล้างภาชนะน้ำดื่ม น้ำใช้ ทุก ๗ วัน เพื่อป้องกันยุงลายวางไข่ 3. ปล่อยปลากินลูกน้ำ เช่น ปลาหางนกยูง ในโอ่งน้ำ บ่อน้ำ หรืออ่างน้ำ อ่างบัว เพื่อทำลายลูกน้ำยุงลาย 4. ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้สะอาด ทั้งภายในและภายนอก ที่สาธารณะ ไม่ให้มีแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย เก็บคว่ำ ทำลายภาชนะน้ำขังที่ไม่ใช้ เช่น กระป๋อง ยางรถยนต์ เศษวัสดุอื่นที่เวลาฝนตกแล้วจะทำให้เกิดน้ำขังได้ หรือเก็บเข้าไว้ในร่ม หมั่นทำความสะอาดบริเวณบ้านและสวน ไม่ให้มีใบไม้สะสม ที่อาจเป็นแหล่งน้ำขัง และแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย เวลาฝนตกใส่ทรายอะเบทในภาชนะน้ำขังที่ไม่สามารถล้างได้ทุกๆ ๗ วัน กำจัดยุงลายตัวแก่ โดยวิธี ฉีดยากันยุง ใช้ไม้ตียุงไฟฟ้า จุดยากันยุง ควรป้องกันไม่ให้ยุงกัด โดยนอนกางมุ้ง ไม่อยู่ในที่มืด และทายากันยุง 5. ปฏิบัติประจำจนเป็นนิสัย โดยปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง และ ๖. ขัดล้างไข่ยุงลายบริเวณขอบภาชนะ เพื่อขัดไข่ยุงลายออกก่อนล้างภาชนะทุกครั้ง และ 5ส. คือ สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ สร้างนิสัย
- สรุปผลการดำเนินงาน
สรุปการใช้งบประมาณ
5.1 งบประมาณที่ได้รับจัดสรร จำนวนทั้งสิ้น 7,650 บาท
5.2 งบประมาณที่ใช้จริง จำนวนทั้งสิ้น 7,650 บาท
ดังรายการต่อไปนี้
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวนทั้งสิ้น 2,250 บาท
2. ค่าอาหารกลางวัน จำนวนทั้งสิ้น 2,000 บาท
3. ค่าไวนิล จำนวนทั้งสิ้น 500 บาท
4. ค่าอุปกรณ์ไฟฉาย จำนวนทั้งสิ้น 600 บาท
5. ค่าเอกสารให้ความรู้ จำนวนทั้งสิ้น 1,000 บาท
6. ค่าเงินรางวัลประกวดซอยปลอดโรค จำนวนทั้งสิ้น 1,000 บาท
ไข้เลือดออก
5. ค่าจัดทำเอกสารสรุปโครงการ จำนวนทั้งสิ้น 300 บาท
รวม 7,650 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในกิจกรรมควบคุมและป้องกันโรค ไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : 1. จำนวนผู้ป่วยในพื้นที่ลดลง
2
2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
ตัวชี้วัด : 2. ค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลาย โดยค่า HI ไม่เกิน 10 และ CI เท่ากับ 0
3
3. เพื่อลดค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลาย โดยค่า HI ไม่เกิน 10 และ CI เท่ากับ 0
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในกิจกรรมควบคุมและป้องกันโรค ไข้เลือดออก (2) 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ (3) 3. เพื่อลดค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลาย โดยค่า HI ไม่เกิน 10 และ CI เท่ากับ 0
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ พิษร้ายในยุงลาย คือ มหันตภัย โรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-2-1
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางพัชราภรณ์นิลละออง ประธาน อสม.ชุมชนชัยมงคล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ พิษร้ายในยุงลาย คือ มหันตภัย โรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2560 ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางพัชราภรณ์นิลละออง ประธาน อสม.ชุมชนชัยมงคล
กันยายน 2560
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-2-1 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ พิษร้ายในยุงลาย คือ มหันตภัย โรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ พิษร้ายในยุงลาย คือ มหันตภัย โรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ พิษร้ายในยุงลาย คือ มหันตภัย โรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7250-2-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,650.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยโรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ ซึ่งสามารถแพร่พันธุ์ได้ดีในช่วงฤดูฝน การรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน/ชุมชนจำเป็นต้องกระทำอย่างต่อเนื่องและจริงจัง ครอบคลุมทุกหลังคาเรือน เพื่อตัดวงจรการแพร่ระบาดเชื้อโรคไข้เลือดออกและจะต้องดำเนินการอย่างรวดเร็วเมื่อเกิดโรคในพื้นที่ จึงจะสามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกให้สงบได้ จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออก ปี 2559 พบว่า อัตราป่วยสะสมของโรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 51 ปี 2559ตั้งแต่ 1 มกราคม – 27 ธันวาคม 2559 ของจังหวัดสงขลา มีผู้ป่วย จำนวน 5,085 ราย คิดเป็นอัตราป่วยต่อแสนประชากร 361.68 และผู้ป่วยตาย 10 ราย คิดเป็นอัตราตายต่อแสนประชากร 0.71 (สำนักงานโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค, 2560) และสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม 2559 พบผู้ป่วยสะสมโรคไข้เลือดออกจำนวน 88 ราย (อัตราป่วย 1,735.70 ต่อแสนประชากร) ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี 2558 จำนวน 70 ราย ในขณะที่ชุมชนชัยมงคลซึ่งเป็น 1 ใน 10 ของชุมชนที่อยู่ในความรับผิดชอบของศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ มีผู้ป่วยจำนวนสูงสุดถึง 27 ราย และได้ทวีความรุนแรงอย่างต่อเนื่องในหลายพื้นที่ เนื่องจากมีประชากรที่หนาแน่นหลายพันครัวเรือนการปลูกอาคารบ้านเรือนที่หนาแน่น และชุมชนแออัด ส่งผลให้การดูแลทำความสะอาดถนน คูระบายน้ำ และพื้นที่สาธารณะต่างๆ ไม่ทั่วถึง อีกทั้งขาดความร่วมมือเอาใจใส่จากประชาชนในชุมชน จึงก่อให้เกิดการแพร่พันธ์ยุงลายในบริเวณกว้าง ทำให้มีผู้ป่วยและตายด้วยโรคไข้เลือดออก ทุกกลุ่มอายุและทุกวัย โดยคาดว่าจะมีจำนวนผู้ป่วยสูงขึ้นตลอดปี หากไม่มีการเร่งรัดป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก โดยเป้าหมายหลักคือ ต้องร่วมมือกันจำกัดลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรค จากปัญหาดังกล่าว ทางชุมชนชัยมงคล ได้เห็นความสำคัญของการป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยมีความเห็นร่วมกันที่จะให้ แกนนำ อสม. เป็นผู้มีบทบาทกระตุ้นเตือนชุมชนและร่วมกันกำจัดลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องในชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในโรคไข้เลือดออก การมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนของตนเอง และการสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ เพื่อให้การดำเนินงานควบคุมโรคและป้องกันโรคไข้เลือดออกประสบผลสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้จึงได้จัดทำโครงการพิษร้ายในยุงลาย คือ มหันตภัย โรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ2560 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในกิจกรรมควบคุมและป้องกันโรค ไข้เลือดออก
- 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
- 3. เพื่อลดค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลาย โดยค่า HI ไม่เกิน 10 และ CI เท่ากับ 0
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 40 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนในชุมชนเกิดความตระหนักและมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังป้องกันโรคไข้เลือดออก
- ลดการแพร่ระบาดของโรคและลดอัตราป่วย/ของโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
สรุปกิจกรรม ที่ได้ดำเนินการ มีดังนี้
- ประชุมชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง/คณะทำงานและ แกนนำ อสม./ประชาชนในชุมชนเพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการ รายละเอียดกิจกรรม และติดตามการดำเนินงานโครงการ
- แกนนำ อสม./ประชาชน ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและขอความร่วมมือให้ประชาชนทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลาย ทางหอกระจายข่าว
- เดินรณรงค์ ให้มีการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดยุงลาย โดยวิธี การทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ใช้สารเคมี โดยการใส่ทรายอะเบทในตุ่มน้ำใช้ในครัวเรือน และสนับสนุนให้ชุมชนปลูกพืชไล่ยุง เช่น ตะไคร้หอมไล่ยุง การเลี้ยงปลากินลูกน้ำ รวมถึงแจกเอกสารแผ่นพับเกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน
- สำรวจและกำจัดลูกน้ำยุงลาย ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในชุมชน ตามมาตรการหลัก 3 เก็บ + 5ป. 1ข. + 5ส. ดังนี้ 3 เก็บ คือ เก็บบ้าน เก็บน้ำ เก็บขยะ 5ป. 1ข. คือ 1. ปิดภาชนะใส่น้ำให้มิดชิด ป้องกันยุงลายวางไข่ ในภาชนะที่ปิดฝาไม่ได้ หรือให้ใส่เกลือ น้ำส้มสายชู หรือผงซักฟอกลงในจานรองตู้กับข้าวเพื่อป้องกันไม่ให้ยุงลายวางไข่ได้ 2. เปลี่ยนน้ำในแจกันดอกไม้ จานรองขาตู้กับข้าว และภาชนะใส่น้ำที่ให้สัตว์เลี้ยงต่างๆ ภายในบ้านเรือน เช่น นก ไก่ สุนัข แมว ทุกสัปดาห์หรือใส่เกลือแกง น้ำส้มสายชู ล้างภาชนะน้ำดื่ม น้ำใช้ ทุก ๗ วัน เพื่อป้องกันยุงลายวางไข่ 3. ปล่อยปลากินลูกน้ำ เช่น ปลาหางนกยูง ในโอ่งน้ำ บ่อน้ำ หรืออ่างน้ำ อ่างบัว เพื่อทำลายลูกน้ำยุงลาย 4. ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้สะอาด ทั้งภายในและภายนอก ที่สาธารณะ ไม่ให้มีแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย เก็บคว่ำ ทำลายภาชนะน้ำขังที่ไม่ใช้ เช่น กระป๋อง ยางรถยนต์ เศษวัสดุอื่นที่เวลาฝนตกแล้วจะทำให้เกิดน้ำขังได้ หรือเก็บเข้าไว้ในร่ม หมั่นทำความสะอาดบริเวณบ้านและสวน ไม่ให้มีใบไม้สะสม ที่อาจเป็นแหล่งน้ำขัง และแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย เวลาฝนตกใส่ทรายอะเบทในภาชนะน้ำขังที่ไม่สามารถล้างได้ทุกๆ ๗ วัน กำจัดยุงลายตัวแก่ โดยวิธี ฉีดยากันยุง ใช้ไม้ตียุงไฟฟ้า จุดยากันยุง ควรป้องกันไม่ให้ยุงกัด โดยนอนกางมุ้ง ไม่อยู่ในที่มืด และทายากันยุง 5. ปฏิบัติประจำจนเป็นนิสัย โดยปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง และ ๖. ขัดล้างไข่ยุงลายบริเวณขอบภาชนะ เพื่อขัดไข่ยุงลายออกก่อนล้างภาชนะทุกครั้ง และ 5ส. คือ สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ สร้างนิสัย
- สรุปผลการดำเนินงาน
สรุปการใช้งบประมาณ 5.1 งบประมาณที่ได้รับจัดสรร จำนวนทั้งสิ้น 7,650 บาท 5.2 งบประมาณที่ใช้จริง จำนวนทั้งสิ้น 7,650 บาท ดังรายการต่อไปนี้ 1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวนทั้งสิ้น 2,250 บาท 2. ค่าอาหารกลางวัน จำนวนทั้งสิ้น 2,000 บาท 3. ค่าไวนิล จำนวนทั้งสิ้น 500 บาท 4. ค่าอุปกรณ์ไฟฉาย จำนวนทั้งสิ้น 600 บาท 5. ค่าเอกสารให้ความรู้ จำนวนทั้งสิ้น 1,000 บาท 6. ค่าเงินรางวัลประกวดซอยปลอดโรค จำนวนทั้งสิ้น 1,000 บาท ไข้เลือดออก 5. ค่าจัดทำเอกสารสรุปโครงการ จำนวนทั้งสิ้น 300 บาท รวม 7,650 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในกิจกรรมควบคุมและป้องกันโรค ไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : 1. จำนวนผู้ป่วยในพื้นที่ลดลง |
|
|||
2 | 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ ตัวชี้วัด : 2. ค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลาย โดยค่า HI ไม่เกิน 10 และ CI เท่ากับ 0 |
|
|||
3 | 3. เพื่อลดค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลาย โดยค่า HI ไม่เกิน 10 และ CI เท่ากับ 0 ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 40 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในกิจกรรมควบคุมและป้องกันโรค ไข้เลือดออก (2) 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ (3) 3. เพื่อลดค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลาย โดยค่า HI ไม่เกิน 10 และ CI เท่ากับ 0
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ พิษร้ายในยุงลาย คือ มหันตภัย โรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-2-1
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางพัชราภรณ์นิลละออง ประธาน อสม.ชุมชนชัยมงคล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......