กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการสร้างสุขภาพ เพื่อรู้จักดูแลตนเอง ลดการใช้ยาที่ไม่เหมาะสม ป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเรื้อรัง ”

อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายสุพัตย์ หริรักษ์ ประธาน อสม.ชุมชนกุโบร์

ชื่อโครงการ โครงการสร้างสุขภาพ เพื่อรู้จักดูแลตนเอง ลดการใช้ยาที่ไม่เหมาะสม ป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเรื้อรัง

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L7250-2-7 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างสุขภาพ เพื่อรู้จักดูแลตนเอง ลดการใช้ยาที่ไม่เหมาะสม ป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเรื้อรัง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างสุขภาพ เพื่อรู้จักดูแลตนเอง ลดการใช้ยาที่ไม่เหมาะสม ป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเรื้อรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างสุขภาพ เพื่อรู้จักดูแลตนเอง ลดการใช้ยาที่ไม่เหมาะสม ป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเรื้อรัง " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7250-2-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,575.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบัน ปัญหาสุขภาพที่เป็นสาเหตุการตายอันดับแรกๆ ของประเทศไทย คือ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน มีอัตราตาย 91.25, 32.65, 22.64, 18.28, 15.48 ต่อแสนประชากรตามลำดับ (ข้อมูลจากสำนักโรคไม่ติดต่อกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุขพ.ศ.1558 )และต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงมาก ซึ่งโรคเหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง คือขาดการออกกำลังกาย มีการรับประทานอาหารไม่เหมาะสมและไม่เพียงพอ แม้ประชาชนจะมีความรู้ แต่ยังไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้องเกิดจากค่านิยมในการบริโภคและวิถีการดำเนินชีวิตของคนไทยเปลี่ยนแปลงไปได้รับอิทธิพลจากตะวันตกตามกระแสบริโภคนิยมและวัตถุนิยม ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ เช่น การบริโภคอาหารโปรตีนและไขมันสูงที่ส่งผลข้างเคียงต่อสุขภาพ โดยเฉพาะการรับประทานอาหารที่มีเนื้อสัตว์ล้วนๆ อาหารรสจัด เช่นมันจัด หวานจัด เค็มจัด กินผักและผลไม้น้อย เดินน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย และการกินยาและการปฏิบัติตัวไม่ถูกต้อง จากการสำรวจประชาชนอายุตั้งแต่ ๓๕ ปีขึ้นไป ในชุมชนศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ พบว่ามีผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (ความดัน – เบาหวาน)จำนวน 455 ราย แยกเป็นผู้ป่วยของชุมชนกุโบร์ จำนวน 115 ราย และในจำนวนผู้ป่วยมีอาการอื่นแทรกซ้อนเข้ามาไม่ว่าจะเป็นโรคปวดเมื่อย ข้อเสื่อม และมีพฤติกรรมการกินยาที่ไม่ถูกต้อง และมีการใช้ยาเกินที่จำเป็น จึงทำให้เกิดปัญหาสุขภาพทั้งในระยะสั้นและระยะยาวและกลุ่มเสี่ยงจึงมีการปรับเปลี่ยนทั้งพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการดูแลตนเองไม่ถูกต้อง ลดการกินยาเพื่อไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย ดังนั้นทางอสม.ชุมชนกุโบร์จึงได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการสร้างสุขภาพ เพื่อรู้จักดูแลตนเอง ลดการกินยา ห่างไกลโรคแทรกซ้อน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้ป่วยและผู้ดูแลสามารถดูแลตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. 2. เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 75
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1 . กลุ่มเป้าหมายสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 2. ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

      3.  สรุปกิจกรรม ที่ได้ดำเนินการ มีดังนี้ กิจกรรมที่ 1  ประชุมชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่ ผู้เกี่ยวข้อง/คณะทำงานและ แกนนำในชุมชน เพื่อชี้แจง รายละเอียด/โครงการ กิจกรรมที่2  จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มผู้ป่วยและผู้ดูแล กิจกรรมที่ 3  นวัตกรรมเพื่อลดการใช้ยาที่ไม่เหมาะสมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน กิจกรรมที่ 4  จัดกิจกรรมติดตามพฤติกรรมแก่กลุ่มเสี่ยง


    5.  สรุปการใช้งบประมาณ     5.1  งบประมาณ ที่ได้รับจัดสรร  จำนวนทั้งสิ้น 14, 575 บาท     5.2  งบประมาณที่ใช้ จริง            จำนวนทั้งสิ้น  14, 575 บาท  ดังรายการ 1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน  3, 875 บาท 2. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน  4, 500  บาท 3. ค่าวิทยากร จำนวน 1, 800 บาท 4. ค่าวัสดุ อุปกรณ์ จำนวน  2, 000 บาท 5. ค่าไวนิลประชาสัมพันธ์ จำนวน  500 บาท 6. ค่าเอกสาร คู่มือ สรุปรูปเล่ม จำนวน 1, 900 บาท    
    รวมเป็นเงินทั้งสิ้น    14, 575      บาท (หนึ่งหมื่นสี่พันห้าร้อยเจ็ดสิบห้าบาทถ้วน)

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ผู้ป่วยและผู้ดูแลสามารถดูแลตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยและผู้ดูแลปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดูแลตนเองอย่างถูกต้อง

     

    2 2. เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย
    ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 5 ของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมไม่เกิดโรคแทรกซ้อน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 75
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 75
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยและผู้ดูแลสามารถดูแลตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) 2. เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสร้างสุขภาพ เพื่อรู้จักดูแลตนเอง ลดการใช้ยาที่ไม่เหมาะสม ป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเรื้อรัง จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L7250-2-7

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสุพัตย์ หริรักษ์ ประธาน อสม.ชุมชนกุโบร์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด