กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ “ชมรมผู้สูงวัยสดใสไร้โรค” ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางธนพร ศิรินุพงศ์ ประธานชมรมผู้สูงอายุ




ชื่อโครงการ โครงการ “ชมรมผู้สูงวัยสดใสไร้โรค”

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L7250-2-8 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ “ชมรมผู้สูงวัยสดใสไร้โรค” จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ “ชมรมผู้สูงวัยสดใสไร้โรค”



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ “ชมรมผู้สูงวัยสดใสไร้โรค” " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7250-2-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,500.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุข เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สำคัญได้แก่ โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มสูงขึ้นทุกปี จากการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพในปี ๒๕๕๘ พบกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังจำนวน ๑๓๕ ราย กลุ่มป่วย จำนวน ๙๓ ราย เป็นผู้ชาย ๒๗ ราย ผู้หญิง ๖๖ ราย ป่วยด้วยโรคเบาหวาน ๓๕ ราย และโรคความดันโลหิตสูง ๖๖ ราย เข้ามารับบริการที่ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ จำนวน ๑๖๓ ราย ส่วนใหญ่พบในวัยสูงอายุ สาเหตุสำคัญเกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสม เช่น การบริโภคอาหารที่ไม่ได้สัดส่วน ขาดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ความเครียด การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และการสูบบุหรี่ เป็นต้น
การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค เป็นกระบวนการของการเพิ่มสมรรถนะให้คนสามารถควบคุมปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดสุขภาพ โดยการกระทำหรืองดกระทำบางสิ่งบางอย่าง เพื่อไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือเป็นโรค และเป็นผลให้บุคคลนั้นมีสุขภาพที่ดี สามารถควบคุมพฤติกรรมของตนเองให้เหมาะสม รวมไปถึงการปรับสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดีและการป้องกันไม่ให้กลับมาเป็นซ้ำในกรณีที่หายจากการเจ็บป่วยหรือเป็นโรคแล้ว ชมรมผู้สูงอายุ ชุมชนสมหวัง ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ เป็นชุมชนเข้มแข็งที่มีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง ทั้งประเพณี วัฒนธรรม และวิถีการดำเนินชีวิตซึ่งได้ดำเนินขึ้นและสืบทอดโดยคนรุ่นก่อนในชุมชน มีการสั่งสมภูมิปัญญาด้านต่างๆ ผ่านการพัฒนาใช้ให้สอดคล้องกับชีวิต สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรในชุมชน ตัวอย่างเช่น การปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อรับประทาน การผลิตเครื่องมือเครื่องใช้จากกะลามะพร้าว การนวด การประคบสมุนไพรรักษาอาการปวดเมื่อย เคล็ดขัดยอกดังนั้น ชมรมผู้สูงอายุ ชุมชนสมหวัง จึงเห็นความสำคัญของภูมิปัญญาไทยโดยการคิดค้นนวตกรรม การใช้สมุนไพรและการบริหารแบบไทย เช่น กายบริหารท่าฤาษีดัดตน มาปรับใช้ในการสร้างเสริมสุขภาพในผู้สูงอายุ เพื่อเป็นการสร้างเสริมสุขภาพอย่างยั่งยืน ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพดี ลดอัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อสร้างเสริมสุขภาพในชมรมผู้สูงอายุ ชุมชนสมหวังโดยใช้ภูมิปัญญาไทย
  2. ๒. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 135
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๙.๑ สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ชุมชนสมหวัง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยนำนวัตกรรมภูมิปัญญาไทย การใช้สมุนไพรและการบริหารแบบไทยมาใช้อย่างถูกต้อง ๙.๒ กลุ่มป่วย สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ชุมชนสมหวัง สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตให้อยู่ในระดับปกติ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    สรุปกิจกรรม 1.ประชุมคณะกรรมการชมรมติดตามประสานงานชมรม 2.อบรมให้ความรู้เรื่องสมุนไพรและการบริหารแบไทย 3.สร้างแกนนำและร่วมกันบริหารร่างกายแบบไทย

    สรุปการใช้งบประมาณ งบประมาณ จัดสรร 16500               ใช้จริง  16500

      ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 13500 ค่าตอบแทนวิทยากร 1200 ค่าวัสดุและเอกสาร 1300 ค่าไวนิล  500 รวม 16500

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อสร้างเสริมสุขภาพในชมรมผู้สูงอายุ ชุมชนสมหวังโดยใช้ภูมิปัญญาไทย
    ตัวชี้วัด : ๑. ผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุ ชุมชนสมหวัง สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตให้อยู่ในระดับปกติ ร้อยละ ๘๐

     

    2 ๒. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด : ๒. ผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุ รอบเอวและดัชนีมวลกาย ลดลง ร้อยละ ๘๐

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 135
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 135
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อสร้างเสริมสุขภาพในชมรมผู้สูงอายุ ชุมชนสมหวังโดยใช้ภูมิปัญญาไทย (2) ๒. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ “ชมรมผู้สูงวัยสดใสไร้โรค” จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L7250-2-8

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางธนพร ศิรินุพงศ์ ประธานชมรมผู้สูงอายุ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด