กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม


“ โครงการเกษตรน้อยเรียนรู้อยู่อย่างพอเพียง ปี 2562 ”

ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางประทีป มณี

ชื่อโครงการ โครงการเกษตรน้อยเรียนรู้อยู่อย่างพอเพียง ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L3356-3-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มกราคม 2562 ถึง 30 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเกษตรน้อยเรียนรู้อยู่อย่างพอเพียง ปี 2562 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรน้อยเรียนรู้อยู่อย่างพอเพียง ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเกษตรน้อยเรียนรู้อยู่อย่างพอเพียง ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 62-L3356-3-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มกราคม 2562 - 30 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กและเยาวชนเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต แต่ในปัจจุบันเด็กในวัยก่อนเรียนและวัยเรียนอยู่ในภาวะความเสี่ยงทางด้านสุขภาพ ทั้งนี้เนื่องจากเด็กต้องบริโภคอาหารพืชผักและผลไม้ที่ไม่ปลอดภัย ทำให้มีการสะสมสารพิษในร่างกายเป็นระยะเวลานาน อาจก่อให้เกิดภาวการณ์เสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและการเกิดโรคชนิดต่างๆได้ ปัญหาภาวะทุพโภชนาการและการเจ็บป่วยโดยไม่จำเป็นและปัญหาอื่นๆในบริบทของสังคมไทย ที่ส่งผลต่อเด็กทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม ซึ่งเป็นการบั่นทอนทรัพยากรมนุษย์ระยะยาว แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาความเสี่ยงด้านสุขภาพต้องให้กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย ที่กระตุ้นให้เด็กเห็นคุณค่าและความสำคัญของการดูแลรักษาสุขภาพตลอดจนสามารถปฏิบัติได้จริง
        การพัฒนาเด็กปฐมวัย อายุ 5 ปีแรกของชีวิต เป็นการทำงานร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับผู้ปกครอง ครูหรือผู้ดูแลเด็กมีบทบาทเป็นผู้ประสานงานร่วมกับผู้ปกครอง ให้เกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการพัฒนาเด็ก และกระตุ้นให้มีการร่วมมือร่วมใจกัน ในการสนับสนุนและพัฒนาเด็กของชุมชนไปสู่เป้าหมายที่กำหนดไว้ ซึ่งจุดมุ่งหมายของการศึกษาในวัยนี้ ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.2546 "เป็นการพัฒนาเด็กบนพื้นฐาน การอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการของเด็ก ภายใต้บริบทสังคม วัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยู่ ด้วยความรัก ความเอื้ออาทรและความเข้าใจของทุกคน ซึ่งจะเป็นการทำงานในลักษณะของการร่วมมือกันรับผิดชอบ หรือถือเป็นหุ้นส่วนที่จะต้องช่วยพัฒนาเด็กให้บรรลุเป้าหมายที่ต้องการร่วมกัน  ผู้ปกครอง คือ ครูคนแรกๆ ของเด็กและเด็กๆก็ได้เรียนรู้หลายสิ่งหลายอย่างที่บ้านโดยไม่ต้องได้รับอิทธิพลหรือได้รับการสอนอย่างเป็นทางการจากสถานศึกษาแต่อย่างใด ดังนั้นจึงเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างยิ่งที่ เมื่อเด็กเข้าเรียนในสถานศึกษา การเรียนรู้จะต้องเชื่อมต่อและเชื่อมโยงระหว่างสถานศึกษาและครอบครัว เพื่อให้การเรียนรู้ของเด็กนั้นต่อเนื่องและทำให้การเรียนรู้มีความหมายต่อเด็ก เพราะสามารถเชื่อมโยงสู่ชีวิตจริงที่บ้านได้ด้วยเกษตรอินทรีย์ ซึ่งโครงการนี้จะเน้น การปลูกคน ไม่ใช่ปลูกผักให้เป็นอย่างเดียว โดยหลักคือ ความรู้คู่คุณธรรม ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็นฐานคิดที่สำคัญ พืชผักต่างๆ ที่ปลูกในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และสามารถนำไปปลูกได้เองที่บ้าน เช่น ผักบุ้ง ผักคะน้า พริก มะเขือ ฯลฯ โดยทำเป็นแปลงเล็กๆ ใช้เนื้อที่น้อย ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ที่ทำเอง เมื่อออกผลผลิตก็เก็บไว้กินภายในบ้าน ยิ่งไม่ใช้สารเคมีก็ยิ่งได้กินผักอย่างมีความสุข
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปรางจึงจัดโครงการเกษตรน้อยเรียนรู้อยู่อย่างพอเพียงขึ้น เด็กจะสนุกสนานกับการปลูกผัก และได้รับความรู้ในการเลือกอาหาร/ผักที่ปลอดสารพิษ และเป็นการปลูกฝังให้เด็กชอบกินผักเพราะ นอกจากจะมีประโยชน์กับร่างกาย แล้วยังทำให้เด็กๆได้ใกล้ชิดกับธรรมชาติด้วยการที่ให้เด็กอยู่ภายใต้ธรรมชาติที่อบอุ่นและปลอดภัย นอกจากนี้ยังเป็นการปลูกฝังให้เด็กรักธรรมชาติมากขึ้นเพื่อมุ่งเน้นพัฒนาเด็กปฐมวัยให้เจริญเติบโตเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้านและเหมาะสมกับวัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้การปลูกผัก และการดูแลผัก
  2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กรับประทานผัก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมปลูกพืชผักสวนครัว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 เด็กนักเรียนได้เรียนรู้การปลูกผัก และการดูแลผักด้วยตนเอง 2 เด็กนักเรียนได้รับประทานผักที่ตัวเองปลูกและส่งเสริมให้เด็กรับประทานผัก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมปลูกพืชผักสวนครัว

วันที่ 11 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

เสนอโครงการต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาท่อมเพื่อพิจารณา - ครูผู้ดูแลเด็ก และเจ้าหน้าที่ ประชุมร่วมกันวางแผนในการจัดกิจกรรมตลอดจนแนวทางการดำเนินงาน - ดำเนินโครงการ มีกิจกรรมต่างๆ ดังนี้           - กิจกรรมให้ความรู้แก่เด็กนักเรียน เรื่อง ประโยชน์ของผัก           - กิจกรรมการปลูกพืชผักสวนครัว โดยแบ่งพื้นที่การปลูกผักให้เด็กแต่ละห้องเรียนช่วยกันปลูกและดูแลรับผิดชอบเพื่อเด็กจะได้รู้สึกภาคภูมิใจและจูงใจให้เด็กได้รับประทานผักที่ตัวเองปลูก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กนักเรียนได้เรียนรู้การปลูกผัก และการดูแลผักด้วยตนเอง และเด็กนักเรียนได้รับประทานผักที่ตัวเองปลูกและส่งเสริมให้เด็กรับประทานผัก

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้การปลูกผัก และการดูแลผัก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้เด็กรับประทานผัก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้การปลูกผัก และการดูแลผัก (2) เพื่อส่งเสริมให้เด็กรับประทานผัก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมปลูกพืชผักสวนครัว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเกษตรน้อยเรียนรู้อยู่อย่างพอเพียง ปี 2562 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L3356-3-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางประทีป มณี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด