กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เยาวชนปลอดภัย ห่างไกลจากสิ่งเสพติด ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายสมาร์ท อร่ามวงศ์ประธาน อสม. ชุมชนวังเขียว – วังขาว




ชื่อโครงการ โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เยาวชนปลอดภัย ห่างไกลจากสิ่งเสพติด

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L7250-2-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เยาวชนปลอดภัย ห่างไกลจากสิ่งเสพติด จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เยาวชนปลอดภัย ห่างไกลจากสิ่งเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เยาวชนปลอดภัย ห่างไกลจากสิ่งเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7250-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,900.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล เด็กและเยาวชนถือเป็นกำลังสำคัญต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต แต่ในสภาพสังคมไทยปัจจุบัน มีปัจจัย หลายด้านที่ส่งผลกระทบเป็นปัญหาและอุปสรรคต่อการสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีของเด็กและเยาวชนไทย เช่น การก่อเหตุทะเลาะวิวาท การลักเล็กขโมยน้อย และการมั่วสุมเสพยาเสพติด เป็นต้นนอกจากนี้ยังมีสิ่งกระตุ้นยั่วเย้าทางด้านวัตถุนิยมและสิ่งมอมเมาให้เยาวชนหลงใหลคลั่งไคล้ในการบริโภคนิยม รวมทั้งปัญหาทางครอบครัวที่มีผลต่อปัญหาดังกล่าวในวัยรุ่น ซึ่งการมั่วสุมเสพยาเสพติด เป็นต้นตอที่ส่งผลทำให้เกิดปัญหาอื่น ๆ ตามมาอีกหลายอย่าง ถือว่าเป็นปัญหาขั้นวิกฤติของเด็กและเยาวชนในวัยเรียนที่จำเป็นต้องได้รับการแก้ไขและป้องกันอย่างเร่งด่วนในขณะนี้ ปัญหาเยาวชนติดยาเสพติดเป็นปัญหาที่สำคัญที่ควรได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน เพราะเป็นปัญหาที่มักจะโยงใยถึงกัน ซึ่งสาเหตุก็มาจากการอยากรู้อยากลอง ชักชวนกันมั่วสุม ขาดการยับยั้งชั่งใจโดยหน่วยงานต่าง ๆ ต้องร่วมมือกันและเข้ามามีบทบาทในการช่วยกันแก้ไขปัญหานี้เป็นการส่งเสริมและแลกเปลี่ยนความรู้ให้เยาวชนได้ตระหนักถึงปัญหาจากยาเสพติดซึ่งมีสาเหตุมาจากการอยากรู้อยากลอง การชักชวนของเพื่อนฝูง การรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ขาดการตระหนักถึงพิษภัยและผลเสียของมัน สิ่งยั่วยุความเจริญทางด้านเทคโนโลยีและการสื่อสาร รวมไปถึงพ่อแม่ผู้ปกครองที่ไม่มีเวลาในการอบรมเลี้ยงดู ดังนั้น๗ชุมชนในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ได้ตระหนักถึงความสำคัญ ของปัญหาดังกล่าวจึงจัดทำโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เยาวชนปลอดภัย ห่างไกลจากสิ่งเสพติดเพื่อส่งเสริมความรู้ ให้เยาวชนได้ตระหนักถึงพิษภัยของปัญหายาเสพติด มีทักษะชีวิต มีการปรับทัศนคติ ค่านิยมเกี่ยวกับยาเสพติด ในทางที่ถูกต้องและรู้จักหลีกเลี่ยงภัยอันตรายเหล่านั้น เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเยาวชนไทย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้เยาวชนได้ตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติดและผลกระทบของยาเสพติด
  2. ๒. เพื่อให้เยาวชนได้เรียนรู้วิธีการหลีกเลี่ยงยาเสพติดและการป้องกันปัญหายาเสพติด
  3. ๓. เพื่อให้เยาวชนกลุ่มเสี่ยงเป็นแกนนำในชุมชนเพื่อต่อต้านยาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.เยาวชนได้รับรู้รับทราบถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด ๒.เยาวชนสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตและมีทักษะในการป้องกันปัญหายาเสพติดของตนเองได้ ๓.เยาวชนที่ผ่านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สามารถเป็นแกนนำในการให้ความรู้และป้องกันปัญหา ยาเสพติดในชุมชน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ๓.  สรุปกิจกรรมที่ได้ดำเนินการ ๑.  ประชุมชี้แจง อสม. ทั้ง ๗ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ PCU เตาหลวง เพื่อชี้แจงจัดกิจกรรมโครงการ     จำนวน  ๑  ครั้ง  วันที่  ๑๑ เมษายน  ๒๕๖๐  ณ  ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ๒.  ดำเนินการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เยาวชนปลอดภัย ห่างไกลจากสิ่งเสพติด วันที่  ๒๐ พฤษภาคม  ๒๕๖๐  ณ  อาคารอเนกประสงค์  ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง

    ๕.  สรุปการใช้งบประมาณ ๕.๑  งบประมาณที่ได้รับจัดสรร      จำนวนทั้งสิ้น    ๑๗,๙๐๐  บาท ๕.๒  งบประมาณที่ใช้จริง                จำนวนทั้งสิ้น    ๑๗,๙๐๐  บาท  ดังรายการต่อไปนี้       ๑.  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม                  จำนวน      ๖,๐๐๐  บาท       ๒.  ค่าอาหารกลางวัน           จำนวน      ๕,๐๐๐  บาท       ๓.  ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน    ๓,๖๐๐    บาท       ๔.  ค่าป้ายไวนิล     จำนวน        ๕๐๐    บาท       ๕.  ค่าวัสดุ  อุปกรณ์อื่น ๆ           จำนวน      ๑,๐๐๐    บาท       ๖.  ค่าจัดทำเอกสาร จำนวน     ๑,๕๐๐    บาท       ๗.  ค่าจัดทำรูปเล่ม           จำนวน        ๓๐๐  บาท

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อให้เยาวชนได้ตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติดและผลกระทบของยาเสพติด
    ตัวชี้วัด : ๑. เยาวชนได้รับรู้ถึงปัญหาพิษภัยของยาเสพติดและผลกระทบของยาเสพติด ร้อยละ ๘๐ %

     

    2 ๒. เพื่อให้เยาวชนได้เรียนรู้วิธีการหลีกเลี่ยงยาเสพติดและการป้องกันปัญหายาเสพติด
    ตัวชี้วัด : ๒. เยาวชนได้เรียนรู้วิธีการหลีกเลี่ยงยาเสพติดและการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร

     

    3 ๓. เพื่อให้เยาวชนกลุ่มเสี่ยงเป็นแกนนำในชุมชนเพื่อต่อต้านยาเสพติด
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้เยาวชนได้ตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติดและผลกระทบของยาเสพติด (2) ๒. เพื่อให้เยาวชนได้เรียนรู้วิธีการหลีกเลี่ยงยาเสพติดและการป้องกันปัญหายาเสพติด (3) ๓. เพื่อให้เยาวชนกลุ่มเสี่ยงเป็นแกนนำในชุมชนเพื่อต่อต้านยาเสพติด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เยาวชนปลอดภัย ห่างไกลจากสิ่งเสพติด จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L7250-2-10

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสมาร์ท อร่ามวงศ์ประธาน อสม. ชุมชนวังเขียว – วังขาว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด