กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา


“ โครงการสร้างเสริมศักยภาพด้านการดูแลสุขภาพและกิจกรรมการคัดเลือกผู้สูงอายุต้นแบบสุขภาพดี ประจำปีงบประมาณ 2562 ”

อาคารศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอรไท ตันพงศธร

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมศักยภาพด้านการดูแลสุขภาพและกิจกรรมการคัดเลือกผู้สูงอายุต้นแบบสุขภาพดี ประจำปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ อาคารศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7252-01-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2562 ถึง 30 เมษายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมศักยภาพด้านการดูแลสุขภาพและกิจกรรมการคัดเลือกผู้สูงอายุต้นแบบสุขภาพดี ประจำปีงบประมาณ 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อาคารศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมศักยภาพด้านการดูแลสุขภาพและกิจกรรมการคัดเลือกผู้สูงอายุต้นแบบสุขภาพดี ประจำปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ตัวแทนผู้สูงอายุ ตัวแทนอสม.ทั้ง 19 ชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้สูงอายุ ได้รับความรู้เพื่อนำไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในชุมชน (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุรู้สึกมีคุณค่าในตัวเอง ด้วยการสร้างแรงจูงใจในการดูแลสุขภาพของตนเองให้มีสุขภาพดี/ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และคัดกรองภาวะซึมเศร้า (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการสร้างเสริมศักยภาพด้านการดูแลสุขภาพ และกิจกรรมการคัดเลือกผู้สูงอายุต้นแบบสุขภาพดี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ 1.จัดโครงการในครั้งต่อไปกลุ่ม ผสว.ควรมีขนาดเล็ก 2.ควรมีวิทยากรทีมคณะทำงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลและการให้ความรู้ให้แก่ ผสว. 3.ติดตาม ผสว. ที่มีภาวะซึทเศร้าจากแบบประเมิน๒Q (ผลบวก) โดยนัดติดตามประเมิน 9Q ซ้ำ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสภาพปัญหาและสถานการณ์ของผู้สูงอายุในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดามีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วจนกลายเป็นสังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ : Aged Society ตลอดจนผู้สูงอายุในสภาวะปัจจุบัน อยู่ในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างสูงและรวดเร็ว ซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นเรื่อยๆ มีการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และสื่อเทคโนโลยีต่างๆ อยู่ตลอดเวลา ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่านิยมและวิถีชีวิตของคนไปสู่สังคมบริโภคนิยม ซึ่งเน้นการแข่งขันด้านวัตถุ และฐานะทางเศรษฐกิจ ทำให้คนในสังคมขาดภูมิคุ้มกันขาดการดูแลเอาใจใส่ต่อผู้สูงอายุซึ่งส่งผลกระทบต่อผู้สูงอายุ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ตัวแทนผู้สูงอายุ ตัวแทนอสม.ทั้ง 19 ชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้สูงอายุ ได้รับความรู้เพื่อนำไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในชุมชน
  2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุรู้สึกมีคุณค่าในตัวเอง ด้วยการสร้างแรงจูงใจในการดูแลสุขภาพของตนเองให้มีสุขภาพดี/ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และคัดกรองภาวะซึมเศร้า
  3. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการสร้างเสริมศักยภาพด้านการดูแลสุขภาพ และกิจกรรมการคัดเลือกผู้สูงอายุต้นแบบสุขภาพดี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 300
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุได้รับการดูแลส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวม 2.ผู้สูงอายุมีแรงจูงใจในการดูแลสุขภาพของตนเองให้สุขภาพดี/ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการตรวจประเมินภาวะสุขภาพ และคัดกรองภาวะซึมเศร้า 3.ผู้สูงอายุได้รับการดูแลส่งเสริมแบบองค์รวม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการสร้างเสริมศักยภาพด้านการดูแลสุขภาพ และกิจกรรมการคัดเลือกผู้สูงอายุต้นแบบสุขภาพดี

วันที่ 11 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมคณะทำงน เพื่อวางแผนรานละเอียดโครงการ 2.เขียนโครงการและขออนุมัติโครงการ 3.ประสานงานการดำเนินโครงการ/ประชาสัมพันธ์โครงการ 4.ดำเนินโครงการโดยมีกิจกรรมดังนี้ 4.1 อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุให้กับผู้สูงอายุ อสม.และผู้ที่เกี่ยวข้อง เป็นกิจกรรมส่งเสริมให้ความรู้แก่ตัวแทนผู้สูงอายุ อสม. และผู้ที่สนใจเข้าร่วมโครงการจาก 19 ชุมชน เพื่อสร้างศักยภาพในด้านการดูแลสุขภาำให้กับกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ในการดูแลตัวเองและนำความรู้ไปช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชนได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมตามวัยต่อไป 4.2กิจกรรมคัดเลือกผู้สูงอายุต้นแบบสุขภาพดี กิจกรรมการตรวจประเมินภาวะสุขภาพเบื้องต้นเพื่อคัดกรองภาวะสุขภาพด้านร่างกาย และตรวจคัดกรองภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ เพื่อนำมาวางแผนในการดูแลผู้สูงอายุ รวมทั้งเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีแ่รงจูงใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-มีผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ ดังนี้ 1. ผู้สูงอายุจำนวน 265 คน 2.ประชาชนทั่วไป 403 คน รวมทั้งสิ้น 668 คน -พบผู้สูงอายุ แบบประเมินภาวะซึมเศร้า 2Q แปลผลบวก จำนวน 14/265ราย คิดเป็นร้อยละ 5

 

300 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

-มีผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ ดังนี้ 1. ผู้สูงอายุจำนวน 265 คน 2.ประชาชนทั่วไป 403 คน รวมทั้งสิ้น 668 คน -พบผู้สูงอายุ แบบประเมินภาวะซึมเศร้า 2Q แปลผลบวก จำนวน 14/265ราย คิดเป็นร้อยละ 5

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ตัวแทนผู้สูงอายุ ตัวแทนอสม.ทั้ง 19 ชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้สูงอายุ ได้รับความรู้เพื่อนำไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ตัวแทนผู้สูงอายุ ตัวแทนอสม.ทั้ง 19 ชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้สูงอายุ ได้รับความรู้เพื่อนำไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในชุมชน
100.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุรู้สึกมีคุณค่าในตัวเอง ด้วยการสร้างแรงจูงใจในการดูแลสุขภาพของตนเองให้มีสุขภาพดี/ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และคัดกรองภาวะซึมเศร้า
ตัวชี้วัด : ให้ผู้สูงอายุรู้สึกมีคุณค่าในตัวเอง ด้วยการสร้างแรงจูงใจในการดูแลสุขภาพของตนเองให้มีสุขภาพดี/ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และคัดกรองภาวะซึมเศร้า
100.00

 

3 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวม
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้รับการดูแลส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวม
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300 668
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 300 668
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ตัวแทนผู้สูงอายุ ตัวแทนอสม.ทั้ง 19 ชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้สูงอายุ ได้รับความรู้เพื่อนำไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในชุมชน (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุรู้สึกมีคุณค่าในตัวเอง ด้วยการสร้างแรงจูงใจในการดูแลสุขภาพของตนเองให้มีสุขภาพดี/ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และคัดกรองภาวะซึมเศร้า (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการสร้างเสริมศักยภาพด้านการดูแลสุขภาพ และกิจกรรมการคัดเลือกผู้สูงอายุต้นแบบสุขภาพดี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ 1.จัดโครงการในครั้งต่อไปกลุ่ม ผสว.ควรมีขนาดเล็ก 2.ควรมีวิทยากรทีมคณะทำงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลและการให้ความรู้ให้แก่ ผสว. 3.ติดตาม ผสว. ที่มีภาวะซึทเศร้าจากแบบประเมิน๒Q (ผลบวก) โดยนัดติดตามประเมิน 9Q ซ้ำ

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมศักยภาพด้านการดูแลสุขภาพและกิจกรรมการคัดเลือกผู้สูงอายุต้นแบบสุขภาพดี ประจำปีงบประมาณ 2562 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7252-01-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอรไท ตันพงศธร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด