โครงการเสริมพลังประชาชนกลุ่มเสี่ยง เพื่อปรับเปลียนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเสริมพลังประชาชนกลุ่มเสี่ยง เพื่อปรับเปลียนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ”
ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
ประธานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลยะรัง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง
มกราคม 2562
ชื่อโครงการ โครงการเสริมพลังประชาชนกลุ่มเสี่ยง เพื่อปรับเปลียนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง
ที่อยู่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 62-L3032-02-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2562 ถึง 17 มกราคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเสริมพลังประชาชนกลุ่มเสี่ยง เพื่อปรับเปลียนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมพลังประชาชนกลุ่มเสี่ยง เพื่อปรับเปลียนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเสริมพลังประชาชนกลุ่มเสี่ยง เพื่อปรับเปลียนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L3032-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2562 - 17 มกราคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เป็นภูมิภาคที่มีปัญหาโรคเรื้อรังที่สูงสุด ทั้งนี้ จากการสำรวจพบว่าในปี พ.ศ. 2549 โรคเรื้อรังเป็นปัญหาที่รุนแรง และสถานการณ์มีแนวโน้มที่จะแย่ลงไปมากขึ้นในอนาคตคาดว่าในปี พ.ศ. 2558 จะมีผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 17 และเสียชีวิตด้วยโรคเรื้อรังถึง 41 ล้านคนทั่วโลก จากการเสียชีวิตทั้งหมดประมาณ 64 ล้านคน ทั้งนี้จึงเป็นประเทศที่จะเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาโรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคเบาหวานในอีก 10 ปีข้างหน้าสูงถึง 5.58 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เจ้าหน้าที่องค์การอนามัยโลกประจำประเทศไทยกล่าวอีกว่า จากสภาวะปัญหาดังกล่าวองค์การอนามัยโลกได้ร่วมมือกับคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมสำหรับภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกแห่งสหประชาชาติ หรือยูเนสแคป เข้ามาร่วมมือในการทำงาน โดยตั้งเป้าหมายที่จะลดการเสียชีวิตจากโรคเรื้อรังให้ได้ร้อยละ 2 หรือประมาณ 11 ล้านคนภายใน 10 ปี โดยเฉพาะในกลุ่มของผู้ป่วยที่มีอายุต่ำกว่า 70 ปี รวมทั้งป้องกันการเสียชีวิตในประเทศยากจนและประเทศกำลังพัฒนาในภูมิภาคนี้ให้ได้ถึงร้อยละ 80 สำหรับประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2545 พบว่า มีผู้เสียชีวิตจากโรคเรื้องรังประมาณร้อยละ 59 หรือประมาร 245,000 ราย จากการเสียชีวิตทั้งหมดของประชากรในประเทศในปี พ.ศ. 2545 ทั้งหมดประมาณ 419,000 ราย และจากการคาดการณ์พบว่า สถานการณ์ภาวะน้ำหนักเกินของคนไทยชายและหญิงอายุตั้งแต่ 30 ปี ขึ้นไป ในปี พ.ศ. 2549 และในปี พ.ศ. 2558 คาดว่า ชายไทยมีภาวะน้ำหนักเกินร้อยละ 34 และหญิงร้อยละ 47 ในอีก 10 ปีข้างหน้าชายจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 35 และหญิงจะเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 57 (ไทยรัฐ: 2549)
โรคหัวใจและหลอดเลือด (cardiovascular diseases) เป็นกลุ่มโรคที่เกิดกับระบบหัวใจและ หลอดเลือด เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญระดับประเทศ ซึ่งเป็นสาเหตุการป่วย พิการและเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของโลกรวมถึงประเทศไทยในปัจจุบัน โดยสามในสี่ของการเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดทั้งหมดเกิดจากโรคหัวใจขาดเลือด (ischaemic heart diseases) และโรคหลอดเลือดสมอง (cerebrovascular diseases) ซึ่งเกิดจากการที่หลอดเลือดตีบตันหรือขาดความยืดหยุ่นจากการสะสมของไขมัน โปรตีนและแร่ธาตุ ที่บริเวณผนังหลอดเลือด สาเหตุการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในคนไทยที่สำคัญ ได้แก่ ภาวะความดันโลหิตสูง ภาวะไขมันเลือดสูง เบาหวาน การสูบบุหรี่ และภาวะอ้วน โดยเฉพาะในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครที่มีสภาพแวดล้อม และวิถีการดำเนินชีวิตที่เสี่ยงต่อสุขภาพ จึงส่งผลให้ประชาชนในกรุงเทพมหานครมีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจ และหลอดเลือดสูงขึ้นไปด้วย (การบูรณาการองค์ความรู้บทบัญญัติศาสนาอิสลามกับการสร้างเสริมสุขภาพ: โรคเรื้อรัง, 2551)
ประเทศในแถบเอเชีย โรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญและสูงกว่าโรคหลอดเลือดหัวใจหลายเท่า เช่น ในจีน ญี่ปุ่น เกาหลี มีผู้ป่วยเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดหัวใจถึง 3 เท่า โดยประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง และเบาหวานรวมสูงถึงปีละกว่า 85,000 รายหรือวันละ 236 คน ผู้เสียชีวิตเหล่านี้ล้วนมีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคและได้รับการวินิจฉัยว่า มีภาวะความดันโลหิตสูง ไขมันเลือดสูง หรือเบาหวาน อัตราการเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองของคนไทยในปี 2542 สูงมากเป็นอันดับ 3 ในผู้ชายและเป็นอันดับ 1 ในผู้หญิง มีจำนวนผู้ป่วยที่เสียชีวิตด้วยโรคหลอดเลือดสมองทั้งหมดในประเทศไทยพบมากกว่า 40,000 คนต่อปี และยังสูงขึ้นทุกปีอีกด้วย ในประเทศที่พัฒนาแล้วพบว่า ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเสียชีวิตหรือมีความพิการเป็นภาระแก่สังคมและครอบครัว และมีค่าใช่จ่ายในการรักษาระยะยาวสูง
โรคหัวใจและหลอดเลือดสมองคือโรคที่เกิดจากความผิดปกติของหลอดเลือดส่งผลให้หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะสำคัญในร่างกายอุดตันหรืออาจเสี่ยงถึงขั้นเส้นเลือดแตกโดยเฉพาะหากเกิดกับหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมอง หรือหัวใจอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ ปัจจุบันโรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุอันดับหนึ่งที่คร่าชีวิตพลเมืองโลกมากที่สุด โรคหัวใจและหลอดเลือดเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายประการได้แก่ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุและเพศปัจจัยด้านพฤติกรรมเช่นการออกกำลังกายอาหารการสูบบุหรี่ดื่มสุราและปัจจัยทางกายภาพเช่น ความดันโลหิตระดับไขมันในเลือดและเบาหวานปัจจัยเหล่านี้ล้วนเป็นความเสี่ยงของแต่ละบุคคลในการนำไปสู่โรคหัวใจและหลอดเลือดในระดับที่แตกต่างกันซึ่งบุคคลที่มีหลายปัจจัยร่วมกันจะมีโอกาสเสี่ยงต่อโรคมากขึ้น จากข้อมูลรายงานใน HDC Cloud อัตราอุบัติใหม่ของโรคหลอดเลือดสมองในอำเภอยะรัง คิดเป็นร้อยละ 53.69 จากข้อมูลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยะรัง จังหวัดปัตตานี ปี 2560 พบว่า ในเขตตำบลยะรัง มีผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองประมาณ 65 ราย เป็นผู้ป่วยรายใหม่ 4 ราย ส่วนใหญ่พบในกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป และมีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนหลอดเลือดสมองร้อยละ 13.23 มีภาวะแทรกซ้อนหัวใจและหลอดเลือดร้อยละ 7.30 ตามลำดับ
ดังนั้น การดำเนินการลดปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดสมองที่มีผู้สูงอายุเป็นปัจจัยเสี่ยงหลักต่อการเกิดโรค จึงได้ให้ความสำคัญในการดูแลส่งเสริมสุขภาพในการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจ จึงได้จัดทำโครงการเสริมพลังประชาชนกลุ่มเสี่ยง เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกัน โรคหัวใจและหลอดเลือดปี 2562 ขึ้นเพื่อให้กลุ่มประชาชนที่มีความสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและโรคหลอดเลือดสมอง มีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรค เพื่อป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองได้ในระดับหนึ่ง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความเชื่อในความสามารถของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมความเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือดเพิ่มขึ้น
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่เหมาะสม ในเรื่องการรับประทานอาหารการออกกำลังกาย การจัดการความเครียดด้วยตนเอง ดูแลและเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น
- เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตจากภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ค่าป้าย โครงการ
- กิจกรรมการให้ความรู้และป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง และหลอดเลือดหัวใจ
- ค่าวิทยากร กิจกรรมการให้ความรู้และป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง และหลอดเลือดหัวใจ
- กิจกรรมการให้ความรู้และป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง และหลอดเลือดหัวใจ
- กิจกรรมการให้ความรู้และป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง และหลอดเลือดหัวใจ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความเชื่อมั่นในตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมความเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือด
- กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่เหมาะสม ในเรื่องการรับประทานอาหารการออกกำลังกาย การจัดการความเครียดด้วยตนเอง ดูแลและเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงที่ถูกต้อง
- ลดอัตราการเสียชีวิตจากภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความเชื่อในความสามารถของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมความเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือดเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชนมีความเชื่อในความสามารถเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมควบคุมความเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือด
0.00
2
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่เหมาะสม ในเรื่องการรับประทานอาหารการออกกำลังกาย การจัดการความเครียดด้วยตนเอง ดูแลและเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชนมีพฤติกรรมดูแลตนเองในเรื่องการรับประทานอาหารการออกกำลังกาย
0.00
3
เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตจากภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละ 50 ลดอัตราการเสียชีวิตจากภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความเชื่อในความสามารถของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมความเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือดเพิ่มขึ้น (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่เหมาะสม ในเรื่องการรับประทานอาหารการออกกำลังกาย การจัดการความเครียดด้วยตนเอง ดูแลและเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น (3) เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตจากภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าป้าย โครงการ (2) กิจกรรมการให้ความรู้และป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง และหลอดเลือดหัวใจ (3) ค่าวิทยากร กิจกรรมการให้ความรู้และป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง และหลอดเลือดหัวใจ (4) กิจกรรมการให้ความรู้และป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง และหลอดเลือดหัวใจ (5) กิจกรรมการให้ความรู้และป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง และหลอดเลือดหัวใจ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเสริมพลังประชาชนกลุ่มเสี่ยง เพื่อปรับเปลียนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 62-L3032-02-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ประธานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลยะรัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเสริมพลังประชาชนกลุ่มเสี่ยง เพื่อปรับเปลียนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ”
ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
ประธานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลยะรัง
มกราคม 2562
ที่อยู่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 62-L3032-02-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2562 ถึง 17 มกราคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเสริมพลังประชาชนกลุ่มเสี่ยง เพื่อปรับเปลียนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมพลังประชาชนกลุ่มเสี่ยง เพื่อปรับเปลียนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเสริมพลังประชาชนกลุ่มเสี่ยง เพื่อปรับเปลียนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L3032-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2562 - 17 มกราคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เป็นภูมิภาคที่มีปัญหาโรคเรื้อรังที่สูงสุด ทั้งนี้ จากการสำรวจพบว่าในปี พ.ศ. 2549 โรคเรื้อรังเป็นปัญหาที่รุนแรง และสถานการณ์มีแนวโน้มที่จะแย่ลงไปมากขึ้นในอนาคตคาดว่าในปี พ.ศ. 2558 จะมีผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 17 และเสียชีวิตด้วยโรคเรื้อรังถึง 41 ล้านคนทั่วโลก จากการเสียชีวิตทั้งหมดประมาณ 64 ล้านคน ทั้งนี้จึงเป็นประเทศที่จะเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาโรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคเบาหวานในอีก 10 ปีข้างหน้าสูงถึง 5.58 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เจ้าหน้าที่องค์การอนามัยโลกประจำประเทศไทยกล่าวอีกว่า จากสภาวะปัญหาดังกล่าวองค์การอนามัยโลกได้ร่วมมือกับคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมสำหรับภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกแห่งสหประชาชาติ หรือยูเนสแคป เข้ามาร่วมมือในการทำงาน โดยตั้งเป้าหมายที่จะลดการเสียชีวิตจากโรคเรื้อรังให้ได้ร้อยละ 2 หรือประมาณ 11 ล้านคนภายใน 10 ปี โดยเฉพาะในกลุ่มของผู้ป่วยที่มีอายุต่ำกว่า 70 ปี รวมทั้งป้องกันการเสียชีวิตในประเทศยากจนและประเทศกำลังพัฒนาในภูมิภาคนี้ให้ได้ถึงร้อยละ 80 สำหรับประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2545 พบว่า มีผู้เสียชีวิตจากโรคเรื้องรังประมาณร้อยละ 59 หรือประมาร 245,000 ราย จากการเสียชีวิตทั้งหมดของประชากรในประเทศในปี พ.ศ. 2545 ทั้งหมดประมาณ 419,000 ราย และจากการคาดการณ์พบว่า สถานการณ์ภาวะน้ำหนักเกินของคนไทยชายและหญิงอายุตั้งแต่ 30 ปี ขึ้นไป ในปี พ.ศ. 2549 และในปี พ.ศ. 2558 คาดว่า ชายไทยมีภาวะน้ำหนักเกินร้อยละ 34 และหญิงร้อยละ 47 ในอีก 10 ปีข้างหน้าชายจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 35 และหญิงจะเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 57 (ไทยรัฐ: 2549)
โรคหัวใจและหลอดเลือด (cardiovascular diseases) เป็นกลุ่มโรคที่เกิดกับระบบหัวใจและ หลอดเลือด เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญระดับประเทศ ซึ่งเป็นสาเหตุการป่วย พิการและเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของโลกรวมถึงประเทศไทยในปัจจุบัน โดยสามในสี่ของการเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดทั้งหมดเกิดจากโรคหัวใจขาดเลือด (ischaemic heart diseases) และโรคหลอดเลือดสมอง (cerebrovascular diseases) ซึ่งเกิดจากการที่หลอดเลือดตีบตันหรือขาดความยืดหยุ่นจากการสะสมของไขมัน โปรตีนและแร่ธาตุ ที่บริเวณผนังหลอดเลือด สาเหตุการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในคนไทยที่สำคัญ ได้แก่ ภาวะความดันโลหิตสูง ภาวะไขมันเลือดสูง เบาหวาน การสูบบุหรี่ และภาวะอ้วน โดยเฉพาะในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครที่มีสภาพแวดล้อม และวิถีการดำเนินชีวิตที่เสี่ยงต่อสุขภาพ จึงส่งผลให้ประชาชนในกรุงเทพมหานครมีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจ และหลอดเลือดสูงขึ้นไปด้วย (การบูรณาการองค์ความรู้บทบัญญัติศาสนาอิสลามกับการสร้างเสริมสุขภาพ: โรคเรื้อรัง, 2551)
ประเทศในแถบเอเชีย โรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญและสูงกว่าโรคหลอดเลือดหัวใจหลายเท่า เช่น ในจีน ญี่ปุ่น เกาหลี มีผู้ป่วยเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดหัวใจถึง 3 เท่า โดยประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง และเบาหวานรวมสูงถึงปีละกว่า 85,000 รายหรือวันละ 236 คน ผู้เสียชีวิตเหล่านี้ล้วนมีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคและได้รับการวินิจฉัยว่า มีภาวะความดันโลหิตสูง ไขมันเลือดสูง หรือเบาหวาน อัตราการเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองของคนไทยในปี 2542 สูงมากเป็นอันดับ 3 ในผู้ชายและเป็นอันดับ 1 ในผู้หญิง มีจำนวนผู้ป่วยที่เสียชีวิตด้วยโรคหลอดเลือดสมองทั้งหมดในประเทศไทยพบมากกว่า 40,000 คนต่อปี และยังสูงขึ้นทุกปีอีกด้วย ในประเทศที่พัฒนาแล้วพบว่า ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเสียชีวิตหรือมีความพิการเป็นภาระแก่สังคมและครอบครัว และมีค่าใช่จ่ายในการรักษาระยะยาวสูง
โรคหัวใจและหลอดเลือดสมองคือโรคที่เกิดจากความผิดปกติของหลอดเลือดส่งผลให้หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะสำคัญในร่างกายอุดตันหรืออาจเสี่ยงถึงขั้นเส้นเลือดแตกโดยเฉพาะหากเกิดกับหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมอง หรือหัวใจอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ ปัจจุบันโรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุอันดับหนึ่งที่คร่าชีวิตพลเมืองโลกมากที่สุด โรคหัวใจและหลอดเลือดเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายประการได้แก่ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุและเพศปัจจัยด้านพฤติกรรมเช่นการออกกำลังกายอาหารการสูบบุหรี่ดื่มสุราและปัจจัยทางกายภาพเช่น ความดันโลหิตระดับไขมันในเลือดและเบาหวานปัจจัยเหล่านี้ล้วนเป็นความเสี่ยงของแต่ละบุคคลในการนำไปสู่โรคหัวใจและหลอดเลือดในระดับที่แตกต่างกันซึ่งบุคคลที่มีหลายปัจจัยร่วมกันจะมีโอกาสเสี่ยงต่อโรคมากขึ้น จากข้อมูลรายงานใน HDC Cloud อัตราอุบัติใหม่ของโรคหลอดเลือดสมองในอำเภอยะรัง คิดเป็นร้อยละ 53.69 จากข้อมูลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยะรัง จังหวัดปัตตานี ปี 2560 พบว่า ในเขตตำบลยะรัง มีผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองประมาณ 65 ราย เป็นผู้ป่วยรายใหม่ 4 ราย ส่วนใหญ่พบในกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป และมีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนหลอดเลือดสมองร้อยละ 13.23 มีภาวะแทรกซ้อนหัวใจและหลอดเลือดร้อยละ 7.30 ตามลำดับ
ดังนั้น การดำเนินการลดปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดสมองที่มีผู้สูงอายุเป็นปัจจัยเสี่ยงหลักต่อการเกิดโรค จึงได้ให้ความสำคัญในการดูแลส่งเสริมสุขภาพในการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจ จึงได้จัดทำโครงการเสริมพลังประชาชนกลุ่มเสี่ยง เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกัน โรคหัวใจและหลอดเลือดปี 2562 ขึ้นเพื่อให้กลุ่มประชาชนที่มีความสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและโรคหลอดเลือดสมอง มีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรค เพื่อป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองได้ในระดับหนึ่ง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความเชื่อในความสามารถของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมความเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือดเพิ่มขึ้น
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่เหมาะสม ในเรื่องการรับประทานอาหารการออกกำลังกาย การจัดการความเครียดด้วยตนเอง ดูแลและเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น
- เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตจากภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ค่าป้าย โครงการ
- กิจกรรมการให้ความรู้และป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง และหลอดเลือดหัวใจ
- ค่าวิทยากร กิจกรรมการให้ความรู้และป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง และหลอดเลือดหัวใจ
- กิจกรรมการให้ความรู้และป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง และหลอดเลือดหัวใจ
- กิจกรรมการให้ความรู้และป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง และหลอดเลือดหัวใจ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความเชื่อมั่นในตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมความเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือด
- กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่เหมาะสม ในเรื่องการรับประทานอาหารการออกกำลังกาย การจัดการความเครียดด้วยตนเอง ดูแลและเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงที่ถูกต้อง
- ลดอัตราการเสียชีวิตจากภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความเชื่อในความสามารถของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมความเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือดเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชนมีความเชื่อในความสามารถเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมควบคุมความเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือด |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่เหมาะสม ในเรื่องการรับประทานอาหารการออกกำลังกาย การจัดการความเครียดด้วยตนเอง ดูแลและเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชนมีพฤติกรรมดูแลตนเองในเรื่องการรับประทานอาหารการออกกำลังกาย |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตจากภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละ 50 ลดอัตราการเสียชีวิตจากภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความเชื่อในความสามารถของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมความเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือดเพิ่มขึ้น (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่เหมาะสม ในเรื่องการรับประทานอาหารการออกกำลังกาย การจัดการความเครียดด้วยตนเอง ดูแลและเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น (3) เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตจากภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าป้าย โครงการ (2) กิจกรรมการให้ความรู้และป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง และหลอดเลือดหัวใจ (3) ค่าวิทยากร กิจกรรมการให้ความรู้และป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง และหลอดเลือดหัวใจ (4) กิจกรรมการให้ความรู้และป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง และหลอดเลือดหัวใจ (5) กิจกรรมการให้ความรู้และป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง และหลอดเลือดหัวใจ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเสริมพลังประชาชนกลุ่มเสี่ยง เพื่อปรับเปลียนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 62-L3032-02-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ประธานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลยะรัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......